ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

Post on 29-Jun-2015

608 Views

Category:

Education

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

Transcript

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจ๗. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านบันเทิงที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น

- การน าภาพยนตร์ออกมาฉาย- การออกแบบและตัดต่อภาพ- การควบคุมคุณภาพของเสียง- การออกแบบท่าทางเต้น- การโฆษณา เป็นต้น

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจ

๘. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านการสื่อสาร เช่น- การน าอินเตอร์เน็ตเข้ามามีส่วนร่วมในงาน เป็นต้น

๙. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านตลาดหลักทรัพย์ที่เก่ียวข้องกับธุรกิจ เช่น- การซ้ือ-ขายหุ้น เป็นต้น

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจ๑๐. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านสื่อสิ่งพิมพ์ที่เก่ียวข้องกับธุรกิจ เช่น

- การหาข้อมูลข่าวสาร- การออกแบบรูปเล่ม- การตัดต่อข้อมูล- การส่งไปตีพิมพ์ เป็นต้น

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้

๑. ประโยชน์ในเรื่องของการเก็บบันทึกข้อมูล เช่น

- ใช้ในการเก็บบันทึกเกี่ยวกับประวัติของพนักงานว่า ช่ือสกุลอะไร อายุเท่าไหร่ จบการศึกษามาจากที่ไหน เคยท างานมาแล้วหรือไม่ เป็นต้น ซ่ึงท าให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ และสะดวกในการใช้ระยะเวลาในการค้นหามากกว่าที่จะใช้กระดาษในการเขียนบันทึกข้อมูล

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจ

- ใช้ในบันทึกเกี่วยกับข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าว่าเป็นประเภทอะไร ช่ือสินค้าอะไร สีอะไร มีลักษณะรูปแบบเป็นอย่างไร ผลิตเมื่อไหร่ และมีวันหมดอายุวันไหน เป็นต้น

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้

๒. ประโยชน์ในเรื่องของการให้บริการลูกค้า คือสามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว และต่อเนื่องซ่ึงสามารถให้บริการลูกค้าที่มาขอใช้บริการได้อย่างทันทีที่ลูกค้ามาเข้ารับการบริการ เช่น

- ใช้ในด้านงานธนาคาร เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เป็นต้น- ใช้ในด้านการศึกษา เช่น การลงทะเบียนเรียน การบันทึกผลการ เรียน และการประการผลการเรียน เป็นต้น

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้

๓. ประโยชน์ในเรื่องของงานวิจัย เช่น- ใช้ในการค านวณ คือ ใช้หาค่าของตัวเลขที่มีความสลับซับซ้อน เช่น การหาค่าของสมการ การถอดราก และยกก าลังของตัวเลข เป็นต้น ซ่ึงสามารถค านวณได้อย่างแม่นย า และมีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น- ใช้ในการประมวลผลข้อมูลในการทดลอง และท าการสรุปผลของการวิจัย เป็นต้น

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้

๔. ประโยชน์ในเรื่องของการเก็บรักษาสินค้า เช่น - ท าให้สามารถควบคุมอุหภูมิของสินค้าภายในโกดังได้ วา่สินค้าประเภทไหนต้องการอุหภูมิประมาณก่ีองศา ชอบอากาศแบบไหน เป็นตน้ จึงมีส่วนช่วยในการเก็บรักษาสินค้าได้เปน็เวลานาน และท าให้เกิดการเสียหายของสินค้าลดน้อยลงอีกด้วย

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้

๕. ประโยชน์ในเรื่องของการตรวจสอบคุณภาพของสินค้า เช่น- เมื่อป้อนข้อมูลสินค้าลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ก็สามารถทราบได้ทันทีเลยว่าข้อมูลของสินค้ายังมีสภาพดีอยู่หรือไม่ และท าให้สามารถทราบวันผลิต และวันหมดอายุได้อีกด้วย

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้

๖. ประโยชนใ์นเรื่องของการค านวณเงินเดือนและคา่แรงงานของพนักงาน เช่น- ในการค านวณเงินเดือนและค่าแรงของพนักงาน ได้มีการน าโปรแกรมส าเร็จรูปขึ้นมาใช้เฉพาะในการค านวณเงินเดือนและค่าแรงของพนักงาน ท าให้มีความสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้

๗. ประโยชนใ์นเรื่องของการท าบัญชี คือ สามารถน าโปรแกรมส าเร็จรูปทางบัญชีเข้ามาช่วยในเรื่องต่าง ๆ เช่น- ในเรื่องของการลงบันทึกรายการทางด้านบัญชี- ในเรื่องของการลงสต็อกสินค้า- ในเรื่องของการจัดท างบการเงินไม่ว่าจะเป็นงบทดลอง งบกระแส เงินสด และงบดุล งบก าไรขาดทุน

ความส าคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อห้องสมุด

1. ช่วยในการบันทึกข้อมลูข่าวสาร และสารสนเทศต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว

2. บันทึกขอ้มูลและสารสนเทศได้เป็นจ านวนมาก

3. สามารถสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว

4. สามารถสื่อสารไปใช้ในระยะไกลได้

เทคโนโลยสีารสนเทศในห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์

1.1 โปรแกรมส านักงาน

–โปรแกรมจัดการงานเอกสาร

–โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล

–โปรแกรมสเปรดชีท

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์

1.2 โปรแกรมห้องสมุดอตัโนมัติแบบบูรณาการ– ลักษณะ

• เป็นระบบเบ็ดเสร็จ

• เป็นโปรแกรมที่ท างานในระบบเครือข่าย

• เป็นโปรแกรมที่ออกแบบมาส าหรับงานหอ้งสมุดโดยเฉพาะ

• เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นส าหรับงานห้องสมุดทุกงาน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์1.2 โปรแกรมห้องสมุดอตัโนมัติแบบบูรณาการ

• ตัวอย่างโปรแกรม– ELIB– L Spider– Library 2000– นวสาร– Alice for Window

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

• การพิจารณาน าระบบห้องสมุดอัตโนมัตมิาใช้

– เลือกขนาดโปรแกรมให้เหมาะสมกบัขนาดห้องสมุด

– ให้เลือกซือ้ระบบงานทีจ่ าเป็นก่อน

–ผู้ผลิตมีความมั่นคง

–หากไม่พร้อมด้านการเงนิอาจใช้โปรแกรมฟรี หรือคิดขึ้นเอง

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

2. เทคโนโลยีท่ีใช้ร่วมกบัระบบห้องสมดุอตัโนมัติ

– 2.1 บาร์โคด้

– 2.2 เครื่องอ่านบาร์โค้ด

– 2.3 RFID

– 2.4 Self Checkout

– 2.6 ประตูกันขโมย

– 2.7 แถบสัญญาณแม่เหล็ก

– 2.8 เครื่องลบ / เพิ่ม สัญญาณแม่เหล็ก

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

2.1 บาร์โค้ด

ส่วนประกอบของบาร์โคด้ 1. ส่วนลายเส้นซึ่งเป็นลายเส้นสีขาว (โปร่งใส) และสีด า 2. ส่วนข้อมูลตัวอักษร 3. แถบว่าง

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

• ประเภทของบาร์โค้ด

–Smart Barcode

–Dumb Barcode

• บาร์โค้ดกับงานห้องสมุด

–บัตรประจ าตัวสมาชิก (Patron/ User Card) – เลขประจ าหนังสือ (Item Barcode)

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนยส์ารสนเทศ

2.2 เครื่องอ่านบาร์โค้ด

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

2.3 RFID : Radio Frequency Identification

1. ป้ายระบุข้อมูลของวัตถุ (Tag)

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

2.3 RFID : Radio Frequency Identification

2. เครื่องอ่านสัญญาณความถ่ีวิทยุ

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนยส์ารสนเทศ

• RFID กับงานห้องสมุด

• บริการรับคนืวัสดุสารสนเทศ

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนยส์ารสนเทศ

• RFID กับงานห้องสมุด

• เรียงวัสดุสารสนเทศ

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

• RFID กับงานห้องสมุด

• ระบบรักษาความปลอดภัยของวัสดุสารสนเทศ

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

• RFID กับงานห้องสมุด

• เครื่องตรวจสอบชั้นวางวัสดุสารสนเทศ

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

• RFID กับงานห้องสมุด

• เครื่องบริการยืม-คืน วัสดุสารสนเทศอัตโนมัติ

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

• RFID กับงานห้องสมุด

• การส ารวจวัสดุสารสนเทศและการจัดชั้น

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

ขั้นตอนการท างานของ RFID1. Folio Tag2. Tagging3. Check out4. Security Gates5. Book Return6. Shelf Management Reader

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนยส์ารสนเทศ

2.4 Self Checkout

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนยส์ารสนเทศ

2.6 ประตูกันขโมย

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนยส์ารสนเทศ

2.7 แถบสัญญาณแม่เหล็ก

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

2.8 เครื่องลบ / เพิ่ม สัญญาณแม่เหลก็

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3. เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล

3.1 โทรสารหรือแฟกซ์

3.2 อีเมล์

3.3 เครือข่าย ได้แก่ LAN, WAN

3.4 Z39.50

3.5 อินเทอร์เน็ต

3.6 อินทราเน็ต

3.7 web2.0 / Library 2.0

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3. เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล

3.1 โทรสารหรือแฟกซ์ ใช้ในการสื่อสารข้อมูลของห้องสมุดและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.2 อีเมล์ ใช้ในการติดต่อระหว่างหน่วยงาน และใช้ในการใหบ้ริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการ

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.3 เครือข่าย ได้แก่ LAN, WAN ส าหรับเชื่อมโยงเครือข่ายของห้องสมุดเข้ากับเครือข่ายท้ังจากภายในและภายนอกหน่วยงาน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.4 Z39.50

– เป็นมาตรฐานก าหนดรูปแบบวิธีการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอรเ์พื่อให้ผู้ใช้งานสามารถสืบค้นไปยังระบบอื่นๆ ได้มากกว่า 1 ระบบ ได้โดยไม่ต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับรูปแบบและข้อก าหนดของระบบที่ต้องการติดต่อด้วย

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

• Z39.50 ก าหนดการท างานด้วย Protocol Z39.50ท างานดังนี้

• 1. Initialization

• 2. Search

• 3. Retrieval

• 4. Result Set Delete

• 5. Access Control

• 6. Accounting /Resource Control

• 7. Sort

• 8. Browse

• 9.Extended Services

• 10. Explain

• 11. Termination

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.5 อินเทอร์เน็ต มีประโยชน์คือ– ใช้ในการสืบคน้สารสนเทศสาขาต่างๆ

– ใช้ในการติดตามข่าวสารที่ทนัสมัยต่างๆ

– ผู้ใช้สามารถสืบค้นฐานข้อมลูออนไลน์ของห้องสมดุผ่านเว็บได้

– เผยแพรข่้อมูลข่าวสารของหอ้งสมุดผ่านเว็บได้

– เป็นประโยชน์ในการท างานของบรรณารักษ์

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.6 อินทราเน็ต ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในองคก์ร

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.7 web2.0 / Library 2.0

• Web 2.0 การสร้างเว็บให้ผู้ใช้มีส่วนร่วม

• Library 2.0 พัฒนามาจากแนวคิดของ Web 2.0

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.7 Library 2.0– ผู้ใช้มีส่วนร่วม

– บริการแบบ “User Center Services”

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.7 Library 2.0 เครื่องมือที่ใช้ได้แก่

• Blog 60 %

• Wikis 46.7%

• RSS 73.3%

• IM 26.7%

• Social Bookmarking 33.3%

49

เทคโนโลยีในห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

4. เทคโนโลยีภาพลักษณ์

4.1 สื่อที่ใช้ในการจัดเกบ็

4.2 ระบบจัดเก็บเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์

–CANON Canofile

–KEYFILE

–Kodak ImageLink

–SPOOLVIEW

–INFOMA

CANON Canofile

Kodak ImageLink

ปัญหาการน าเทคโนโยลีสารสนเทศมาใช้ในห้องสมุด

1. ห้องสมุดขาดแคลนงบประมาณ

2. ห้องสมุดขาดแคลนบคุลากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. เทคโนโลยีมักล้าสมัยเร็ว

4. ห้องสมุดเฉพาะส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก

top related