YOU ARE DOWNLOADING DOCUMENT

Please tick the box to continue:

Transcript
Page 1: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

บทที่ 2เอกสารงานวิจัยที่เก่ียวของ

การดําเนินงานตามโครงการวิจัยและพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐานในโรงเรียนขนาดเล็ก มีการศึกษาเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวของสําหรับนํามาใชในการพัฒนารูปแบบและทดลองใชรูปแบบ ดังนี้ 1) สภาพปญหาของโรงเรียนขนาดเล็ก 2) ความรูเบื้องตนเก่ียวกับการเรียนรูของครู 3) การอบรมครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน 4) เครือขายการเรียนรู 5)กระบวนการของรูปแบบการปฏิรูปการเรียนรูของ วพร. 6) การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม 7) ผูนําการเปลี่ยนแปลง 8) การนิเทศแบบกัลยาณมิตร 9) แนวคิดเก่ียวกับรูปแบบ 10) การสอนเพ่ือพัฒนาทักษะการคิด 11) การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน 12) การใชไอซีที (ICT) ในการเรียนการสอน และ 13)งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

สภาพปญหาของโรงเรียนขนาดเล็กหลังจากมีการตราพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับในป พ.ศ. 2464 กระทรวงศึกษาธิการ

และหนวยงานท่ีเก่ียวของ ไดขยายการจัดตั้งโรงเรียนสําหรับใหการศึกษากับราษฎรในพ้ืนท่ีตาง ๆ ท่ัวประเทศ แตงบประมาณของกระทรวงศึกษาธิการมีจํานวนจํากัด ไมสามารถจัดตั้งโรงเรียนใหครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีได กอปรกับในสมัยกอนเสนทางการคมนาคมยังไมสะดวก ชุมชนแตละแหงในพ้ืนท่ีรอบนอกอยูหางไกล จึงทําใหชุมชนแตละแหงคิดจัดตั้งโรงเรียนใหกับบุตรหลาน โดยมีผูใจบุญบริจาคท่ีดินใหสรางโรงเรียน คนในชุมชนชวยกันสละเงินเพ่ือจางครูและพัฒนาโรงเรียนในดานตาง ๆ รวมท้ังสงบุตรหลานเขาเรียน เม่ือจบการศึกษาจะไดประกอบอาชีพตาง ๆ ในชุมชนและกลับมาชวยเหลือโรงเรียนจากรุนสูรุนมาจนถึงปจจุบัน

ปจจุบันความเจริญดานวัตถุกระจายสูทุกพ้ืนท่ีในประเทศ มีการขยายตัวของชุมชน ชุมชนมีบานเรือนหนาแนน การเดินทางคมนาคมสะดวกมากข้ึน ผูปกครองเริ่มสงบุตรหลานมาเรียนในเมืองมากข้ึน นอกจากนี้ผูปกครองมองวาโรงเรียนในเมืองมีครูท่ีมีคุณภาพมากกวา มีความพรอมดานอาคารสถานท่ี สื่ออุปกรณและเทคโนโลยีมากกวาโรงเรียนในชุมชนของตน ถาสงบุตรหลานไปเรียนจะทําใหมีโอกาสในการเรียนรูมากข้ึน และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน สงผลใหโรงเรียนในชุมชนรอบนอกมีนักเรียนนอยลงกลายเปนโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีนักเรียนระหวาง 80-300 คน มากกวา 13,000 โรงเรียนท่ัวประเทศ และมีแนวโนมท่ีจะเพ่ิมจํานวนข้ึนเรื่อย ๆ

จากการศึกษาสภาพปญหาโรงเรียนขนาดเล็กของวรัยพร แสงนภาบวร (2550) พบวา โรงเรียนขนาดเล็กมีปญหามากมายหลายดาน ดังนี้

Page 2: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

11

1. ปญหาดานบุคลากร เปนปญหาท่ีสําคัญ คือ ขาดแคลนครูและบุคลากรท่ีมีคุณภาพ มีครูไมครบชั้นเรียน มีครูไมตรงกับสาขาวิชาเอก ขาดความชํานาญเฉพาะดาน ครูคนเดียวตองสอนหลายระดับและหลายกลุมสาระการเรียนรู ปญหาเหลานี้สงผลตอขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะในเรื่องการพิจารณาความดีความชอบท่ีคิดเกณฑจํานวนบุคลากร รวมท้ังขาดบุคลากรสายสนับสนุนการสอน เชน ธุรการ การเงิน พัสดุ และไมมีภารโรง ทําใหครูและนักเรียนตองรับภาระทุกอยาง

สวนในดานคุณภาพนั้น พบวาโรงเรียนขนาดเล็กมีปญหาครูขาดประสบการณในการสรางสื่อการเรียนการสอน ขาดความรูความเขาใจในการใชสื่อเทคโนโลยี (ICT) ครูขาดการพัฒนา มีการโยกยายครูตามฤดูกาล ขาดสวัสดิการท่ีเหมาะสม เชน ท่ีพักอาศัย พาหนะในการเดินทาง เปนตน

2. ปญหาดานงบประมาณ เนื่องจากมีจํานวนนักเรียนไมมาก การจัดสรรงบประมาณคิดตามรายหัวนักเรียน โรงเรียนจึงไดรับงบประมาณคาใชจายรายหัวตามสัดสวนจํานวนนักเรียนท่ีนอยไปดวยไมเพียงพอตอการจัดซื้อวัสดุครุภัณฑท่ีจําเปนอยางเพียงพอ ทําใหไมสามารถท่ีจะบริหารและจัดการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพได

3. ปญหาดานอาคารสถานท่ี สื่อ วัสดุอุปกรณและครุภัณฑตาง ๆ เชน สื่อการเรียนการสอนครุภัณฑ และวัสดุอุปกรณตาง ๆ ท่ีเหมาะสมและทันสมัย หนังสือแบบเรียน หนังสืออานประกอบ แหลงเรียนรูในโรงเรียนและชุมชน อาคารเรียนมีสภาพเกา ชํารุดทรุดโทรม ไมเพียงพอกับความตองการ ขาดแคลนอุปกรณเครื่องมือสื่อสาร เชน โทรศัพท อินเตอรเน็ต เปนตน ตลอดจนขาดหองปฏิบัติการทางวิทยาศาสตรและภาษา หองน้ําไมถูกสุขลักษณะ และขาดสถานท่ีออกกําลังกายสําหรับเด็ก

4. ปญหาดานการบริหารจัดการ สถานศึกษาขนาดเล็กบางแหงขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ เนื่องจากเปนการลงทุนคอนขางสูงเม่ือเปรียบเทียบกับโรงเรียนขนาดใหญ มีปญหาขาดการประสานงานและติดตอกับหนวยงานอ่ืน ๆ ขาดการนิเทศ กํากับ ติดตามประเมินผลอยางตอเนื่องและท่ีสําคัญขาดผูนําสถานศึกษาท่ีเขมแข็ง

5. ปญหาความยากจนของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็กสวนใหญเปนโรงเรียนประถมศึกษา ตั้งอยูในชนบทท่ียากจน ชุมชนดอยการศึกษา จึงไมสามารถใหการสนับสนุนการจัดการศึกษาของโรงเรียนได

6. ปญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา จากการประเมินคุณภาพภายนอกโดย สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) พบวามีสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 20,771 แหง จาก 32,000 แหง หรือประมาณรอยละ 65 ท่ียังไมไดมาตรฐาน ซึ่งสวนใหญเปนสถานศึกษาขนาดเล็ก ขาดความพรอมในดานตาง ๆ อยูมาก โดยเฉพาะมาตรฐานท่ี 4(ผูเรียนมีความสามารถในการวิเคราะห คิดสังเคราะห มีวิจารณญาณ มีความคิดสรางสรรค คิดไตรตรองและมีวิสัยทัศน) มาตรฐานท่ี 5 (ผูเรียนมีความรูและทักษะท่ีจําเปนตามหลักสูตร) นอกจากนี้ โรงเรียนขนาดเล็กยังมีปญหานักเรียนขาดเรียนบอยและขาดการเรียนติดตอกันเปนเวลานาน ขาดแรงจูงใจในการเรียน ขาดแคลนอาหารกลางวันและงานอนามัยไมมีประสิทธิภาพ

Page 3: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

12

ผลสืบเนื่องมาจากปญหาดังกลาวขางตนสงผลตอคุณภาพผูเรียน ปญหาโรงเรียนขนาดเล็กจึงจําเปนตองไดรับการแกไขตั้งแตระดับนโยบายของหนวยงานตนสังกัดลงไปจนถึงระดับพ้ืนท่ี เพ่ือใหการจัดการศึกษาปญหาของโรงเรียนขนาดเล็กมีคุณภาพมากข้ึน

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการเรียนรูของครู1. มุมมองดานการเรียนรูของครู

ควากแมน (Kwakman. 2003) แบงมุมมองการเรียนรูของครูเปน 2 มุมมองมีรายละเอียดดังนี้

1.1 มุมมองดานจิตวิทยาการรับรู (cognitive psychological perspective)ครูตองสรางการเรียนรูดวยวิธีเรียนรูของตนเองโดยจะตองไดรับการสนับสนุนเพ่ือใหเกิด

การเรียนรู ความรูและความเชื่อม่ันใหม ครูจะไมไดเปนเพียงผูถายโอนความรู แตตองสรางสรรคบรรยากาศของการเรียนรูแมวาจุดมุงหมายของการเรียนรูอยูท่ีการเปลี่ยนแปลงทายสุดของการฝกปฏิบัติในหองเรียน แตการเรียนรูก็ไมจําเปนจะตองอยูในหองเรียน การเรียนรูของครูจะเกิดข้ึนในสถานท่ีท่ีหลากหลาย ประสบการณการเรียนรูท่ีมีพลังอาจจะไดรับมาจากภายนอกหองเรียนก็ได

1.2 มุมมองดานการพัฒนาความเปนวิชาชีพ (professional developmentperspective)

มุมมองนี้เชื่อวาบริบทสถานท่ีทํางานเปนเรื่องท่ีเหมาะสมท่ีสุด นักวิจัยบางกลุมมองวาสถานท่ีทํางานนาจะครอบคลุมเฉพาะหองเรียนในโรงเรียน ในขณะท่ีบางคนมองวาบริบทท่ีกวางกวาจะรวมถึงกลุมโรงเรียน เครือขายโรงเรียน ความรวมมือระหวางโรงเรียนกับมหาวิทยาลัย

มุมมองท้ังสองมีความเชื่อวาการพัฒนาตนเองของครูตองเกิดข้ึนท้ังในและนอกหองเรียนโดยสนับสนุนใหมีการสรางแหลงการเรียนรู โดยเฉพาะแหลงการเรียนรูทางวิชาชีพเพ่ือใหการเรียนรูไปถึงเปาหมาย

2. หลักการเรียนรูของครูในโรงเรียนควากแมน (Kwakman. 2003) อธิบายหลักการเรียนรูของครูไว 3 ประการ ดังนี้2.1 การเรียนรูของครูในฐานะเปนสวนรวมในกิจกรรมของโรงเรียน ชวยใหเกิดการบูรณาการ

ระหวางกระบวนการทํางานและกระบวนการเรียนรูเขาดวยกัน ซึ่งมีประโยชนตอการพัฒนาตนเอง2.2 การเรียนรูจากการมีปฏิสัมพันธในขณะทํางาน เปนการเรียนรูแบบมีปฏิสัมพันธในขณะ

ทํางาน เกิดจากการรวมมือ รวมพลังในการทํางานในโรงเรียน ทําใหไดขอมูลปอนกลับและสารสนเทศใหม ๆ เปนการชวยสรางวัฒนธรรมของการเรียนรูและสรางแหลงการเรียนรู

2.3 การเรียนรูตองเก่ียวของกับกระบวนการพัฒนาวิชาชีพครู เชน ดานความรู ดานทักษะท่ีใชในการสอน ดานการจัดการหองเรียน ซึ่งมีความเก่ียวของกับสภาพการปฏิบัติงานจริงและสามารถนําไปใชประโยชนได

Page 4: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

13

หลักการดังกลาว สนับสนุนใหครูเรียนรูแบบมีสวนรวม เพ่ือสรางวัฒนธรรมของการเรียนรู โดยความรูท่ีเกิดข้ึนนั้นสามารถนําไปปฏิบัติไดจริงและเกิดประโยชน

3. วิธีการเรียนรูของครูสคริบเนอร (Scribner. 1999) แบงวิธีการเรียนรูของครูเปน 3 วิธี คือ 1) วิธีการเรียนรูแบบ

รวมมือรวมพลัง (teacher collaboration) มุงเนนกลยุทธการพัฒนาการจัดการหองเรียนและการพัฒนาปรับปรุงทักษะดานการสอน 2) วิธีการแสวงหาความรูดวยตนเองและการเรียนรูท่ีเกิดจากประสบการณ (individual inquiry and job experience) ใชวิธีการอานเพ่ือสะสมความรู สารสนเทศและขอมูลตาง ๆ และการทําวิจัยเพ่ือการหาวิธีสอนหรือวิธีแกปญหาใหเหมาะสมกับหองเรียนของตนและ 3) วิธีการเรียนรูจากกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพครูท่ีเปนแบบทางการ (formal professionaldevelopment activities) เชน การประชุม การสัมมนา เปนตน

ควากแมน (Kwakman. 2003) กลาวถึงการเรียนรูของครูในบริบทโรงเรียน 4 แบบ คือ1) วิธีการอาน (reading) เปนวิธีท่ีครูใชเพ่ือสะสมความรู สารสนเทศ รวมท้ังขอมูลตางๆ 2) วิธีลงมือปฏิบัติและวิธีการทดลอง (doing and experimenting) เปนวิธีท่ีครูเชื่อมโยงภาคทฤษฏีลงสูภาคปฏิบัติการทดลองวิธีการสอนใหม ๆ ใหเหมาะสมกับหองเรียนของตน 3) การสะทอนความคิด (reflection)เปนวิธีการสอนท่ีทําใหครูไดขอมูลปอนกลับท่ีนํามาปรับปรุงการสอนและการจัดการหองเรียนของตนและ 4) การรวมมือรวมพลัง (collaboration) เปนการแบงปนประสบการณ แกไขปญหากับเพ่ือนรวมงาน นําขอมูลไปพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู

สรุปไดวาการจัดการเรียนรูของครูในโรงเรียนจะตองเปนการเรียนรูท่ีตอเนื่องเชื่อมโยงกับงานครู มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและบูรณาการลงไปในตารางของโรงเรียน

4. วิธีการพัฒนาวิชาชีพครูรูปแบบท่ีใชในวงการศึกษามี 2 รูปแบบ ดังนี้ 1) การฝกอบรมในเวลาปฏิบัติงาน (on–the–

job training) ไดแก การปฐมนิเทศ การชวยเหลือ การเปนพ่ีเลี้ยง การติดตามดูแล การสับเปลี่ยนงานและ 2) การฝกอบรมนอกเวลาการปฏิบัติงาน (off – the – job training) ไดแก การบรรยาย การใชบทเรียนแบบโปรแกรม การจําลองสถานการณ การใชคอมพิวเตอรชวยสอน การสัมมนาทางโทรศัพทการประชุมสัมมนา และการศึกษาตอ

การฝกอบรมในเวลาปฏิบัติงานเปนวิธีการพัฒนาวิชาชีพครูท่ีนิยมใชกันมาก เพราะเปนการฝกอบรมท่ีไมเปนทางการ มีคาใชจายนอย ปรับเปลี่ยนตารางฝกอบรมไดงายและชวยสรางความสัมพันธระหวางผูใหการอบรมกับผูเขารับการอบรม ซึ่งวิธีการท่ีนิยมใชกันมากท่ีสุด คือ การฝกอบรมโดยใชโรงเรียนเปนฐาน (school-based training)

5. หลักการในการพัฒนาบุคลากรและครูยงยุทธ เกษสาคร, 2548 และพนัส หันนาคินทร (2536) ไดเสนอแนวคิดหลักการในการ

พัฒนาบุคลการและครูไวคลายคลึงกันสรุปได 8 ประเด็น ดังนี้ 1) ประสิทธิผลของระบบงานข้ึนอยูกับความรูความสามารถของผูปฏิบัติงานในองคกร ประสิทธิภาพของผูปฏิบัติงานจะเพ่ิมข้ึนถาระบบงานให

Page 5: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

14

โอกาสหรือจัดการพัฒนาความสามารถของบุคลากร 2) การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและครู เปนกิจกรรมท่ีจะตองทําอยางตอเนื่อง ตั้งแตแรกเขาทํางานจนถึงเวลาท่ีจะตองออกจากงานไปตามวาระ 3)การพัฒนาบุคลากรและครูจะตองพัฒนาทุกดานควบคูกันไป ท้ังดานสุขภาพอนามัย ดานความรูความสามารถ ดานจิตใจ หรือดานคุณธรรม จริยธรรม เปนตน 4) วิธีการในการพัฒนาบุคลากรและครูมีหลายวิธี จะตองเลือกใชใหเหมาะสมกับลักษณะขององคกรและบุคลากร โดยมีเปาหมายมุงท่ีการเรียนรูของบุคลากรและครูในอันท่ีจะปรับปรุงประสิทธิภาพของตนในการทํางานท่ีไดรับมอบหมาย 5)ระบบงานจะตองใหโอกาสแกบุคลากรและครูไดพัฒนาประสบการณ ท้ังเปนคณะ รายบุคคล เพ่ือเตรียมไปรับหนาท่ีใหม และปรับปรุงงานใหมีประสิทธิภาพสูงข้ึน 6) องคกรตองจัดระบบทะเบียนบุคลากรใหเปนปจจุบัน สามารถตรวจสอบความกาวหนาได และจัดใหมีระบบการประเมินการพัฒนาความสามารถของบุคลากรเปนระยะ ๆ เพ่ือชวยแกไขบุคลากรบางกลุม ใหพัฒนาความสามารถเพ่ิมข้ึน 7) จุดประสงคประการแรกของการพัฒนาบุคลากรนั้นเพ่ือปรับปรุงคุณภาพของระบบงานหรือระบบโรงเรียนใหสูงข้ึนฉะนั้นจึงจําเปนท่ีจะตองทําการปรับปรุงใหผูปฏิบัติงานไดสามารถทํางานใหสอดคลองกันและดวยคุณภาพในระดับทัดเทียมกัน และ 8) ระบบงานหรือระบบโรงเรียนควรถือวาการพัฒนาตัวบุคคลนั้นเปนการลงทุนรูปแบบหนึ่งท่ีจะใหผลในระยะยาว นอกจากจะเปนการเสริมสรางประสิทธิภาพของผูปฏิบัติงานแลวยังเปนการท่ีจะดึงดูดคนใหปรารถนาท่ีจะทํางานอยูกับองคกร/โรงเรียนนั้น ๆ มากข้ึนอันเปนการสรางความเปนปกแผนใหแกระบบงาน/โรงเรียนนั้นโดยตรง

จักร อินทจักร และเกรียงไกร เจียมบุญศรี (2548) ไดเสนอหลักการพัฒนาบุคลากรไวแตกตางจากท่ีกลาวมาขางตน 8 ประการ ดังนี้ 1) หลักการกําหนดวัตถุประสงค(establish objectives) เปนการใหบุคลากรไดทราบวัตถุประสงควาองคกรตองการอะไรจากการพัฒนาครั้งนั้น ๆ ซึ่งจะชวยใหการเรียนนั้นมีความหมายนาสนใจเพราะทราบดีวา จะตองทําเพ่ืออะไร 2) หลักการถายทอดความรู(transfer of training) เปนการเปดโอกาสใหผูเขารับการอบรมไดมีการแสดงออกใหเห็นวา ตนเองมีความรูความเขาใจอยางไรตอประเด็นท่ีไดเรียนรูซึ่งจะชวยสรางความเชื่อม่ันในกระบวนการเรียนรูมากยิ่งข้ึน 3) หลักการสะทอนกลับขอมูล (feedback) หรือการปอนขอมูลยอนกลับเพ่ือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรูโดยตัวของผูเขารับการอบรมเอง 4) หลักการเสริมแรง (reinforcement) เปนการพัฒนาพฤติกรรมในลักษณะสองทิศทางตามผลของการเสริมแรง โดยรูปแบบการเสริมแรงอาจจะแตกตางกันไปตามความตองการหรือความคาดหวังของบุคคลนั้น 5) หลักการสรางความสําคัญ(meaningfulness) เปนการตอบสนองตอธรรมชาติของมนุษย ดังนั้นบรรยากาศการเรียนรูท่ีดีจะตองอํานวยใหบุคคลไดแสดงออกใหเห็นวาเขามีความสําคัญ 6) หลักการทําซ้ํา (repetition) เปนการทบทวนความเขาใจท่ีเกิดจากการเรียนรูจากการกระทํา การทําซ้ําจะชวยใหเกิดความม่ันใจในความรูท่ีไดรับมา7) หลักการจูงใจ (motivation) เปนการสนองตอบตอความคาดหวังของบุคคลดวยการใหสิ่งท่ีบุคคลนั้นมีความตองการ ดังนั้นในกิจกรรมการพัฒนาจะตองมีการสังเกตพฤติกรรมหรือพยายามใหพนักงานได

Page 6: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

15

แสดงออกในสิ่งท่ีอยูในความสนใจ เพ่ือเปนขอมูลสําคัญท่ีจะกําหนดกิจกรรมใหตรงประเด็นท่ีตองการ 8)หลักการเรียนรูภาพรวม-รายละเอียด-รวมภาพ (whole-specifics-whole) เปนวิธีการเรียนรูจากภาพรวมกวาง ๆ ของเรื่องท่ีฝกอบรมใหครอบคลุม แลวเรียนรูในรายละเอียดปลีกยอยในแตละสวนประกอบ และสรุปภาพรวมความสัมพันธของภาพรวมอีกครั้ง หลักการนี้จะชวยใหเกิดการเรียนรูท่ีดียิ่งกวา

นอกจากนั้น สทูปส และราฟเฟอรดิ (Stoops and Refferty, 1961 อางถึงในสํานักพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2550) ไดเสนอไววา การพัฒนาครูควรตั้งอยูบนฐาน 3 ประการ คือ1) ครูทุกคนท้ังท่ีมีประสบการณและไมมีประสบการณยอมตองการโครงการพัฒนาบุคลากร 2) ครูทุกคนควรมีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและเปนหนาท่ีของผูบริหารท่ีจะตองจัดใหครูไดมีโอกาสในการปรับปรุงตนเองอยางเพียงพอ และ 3) การวางโครงการในการพัฒนาครู ตองกําหนดเปาหมายและจุดประสงคท่ียอมรับของครูท่ีเก่ียวของ

สรุปไดวา หลักการสําคัญในการพัฒนาบุคลากรและครูนั้น ตองเชื่อวามนุษยทุกคนมีศักยภาพในตัวเอง สามารถพัฒนาได ถาไดรับการกระตุน การสงเสริม ทุก ๆ ดานแบบองครวม ดวยวิธีการท่ีหลากหลายอยางเหมาะสม ก็จะทําใหทุกคนมีโอกาสไดพัฒนาศักยภาพของตนอยางเต็มท่ีและ สามารถใชความรู มาใชใหเกิดประโยชนในการพัฒนางานและองคกรไดอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน

6. สภาพการพัฒนาครูในประเทศไทยปจจุบันครูในประเทศไทยประจําการในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมากกวา 500,000 คน

(รวมทุกสังกัด) หนวยงานท่ีดูแลการพัฒนาครูในระดับภาพรวม คือ สถาบันพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา (สคบศ.) ซึ่งเปนหนวยงานภายใตการกํากับของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีหนาท่ีในการประสานและจัดทํานโยบายแผนและแนวทางในการพัฒนาครู สวนในระดับปฏิบัติการเปนภารกิจของแตละหนวยงานตนสังกัดของสถานศึกษานั้น ๆ เชน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา รับผิดชอบการพัฒนาครูระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สํานักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชนรับผิดชอบการพัฒนาครูเอกชน เปนตน

การดําเนินงานพัฒนาครูท่ีผานมา สวนใหญหนวยงานในสวนกลางเปนผูวางแผนและดําเนินการพัฒนา สวนใหญใชวิธีการฝกอบรม กลวิธีการฝกอบรมใชวิธีการบรรยาย ประชุมกลุมยอยและสรุปขอคิดเห็นตอท่ีประชุมใหญ จํานวนผูเขารับการอบรมคอนขางมาก บางครั้งมีจํานวนหลายรอยคน ผูอบรมกับผูเขารับการอบรมไมสามารถสื่อสารกันไดอยางใกลชิด สถานท่ีจัดการอบรมเปนโรงแรมหรือมหาวิทยาลัยซึ่งหางไกลความเปนจริงของหองเรียนและในการเชิญครูเขารวม มีคาใชจายสูงในการเดินทาง คาท่ีพัก อาหาร ระยะเวลาการอบรมมีตั้งแตหลักสูตร 1-30 วัน หลังจากอบรมขาดการติดตามประเมินผลการนําความรูท่ีไดจากการอบรมไปใช แตผูเขารับการอบรมจะไดรับวุฒิบัตรแสดงวาผานการอบรม และนําไปใชประเมินผลงานเพ่ือเลื่อนวิทยฐานะ การจัดการอบรมโดยสวนกลางจึงขาดความเขาใจในบริบทท่ีมีความแตกตางระหวางผูเขารับอบรมท่ีมาจากตางพ้ืนท่ี ดังนั้นสิ่งท่ีอบรมจึงไมสามารถแกไข

Page 7: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

16

ปญหาการเรียนการสอนได (สุรศักดิ์ หลาบมาลา, 2545) สําหรับระยะเวลาท่ีครูไดมีโอกาสพัฒนาตนเองในรอบป พบวาครูสวนใหญมีเวลาในการพัฒนาตนเองพอประมาณ รอยละ 43.04 และไดเขาประชุม/อบรมทางวิชาการในรอบปท่ีผานมา 2–3 ครั้ง คิดเปนรอยละ 47.55 (พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ, 2549)

นอกจากนี้มีขอมูลผลการติดตามสภาวการณครูรายจังหวัดในป 2550 (Teacher Watch)ของสถาบันพัฒนาครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษาในดานการพัฒนาวิชาชีพ พบวา ครูไดรับการฝกอบรมในรอบปท่ีผานมารอยละ 92.00 และไมไดเปนผูกําหนดหัวขอการอบรมเองรอยละ 91.70สวนใหญแหลงท่ีครูไดรับการอบรมเปนหนวยงานภายนอกสถานศึกษา โดยหัวขอท่ีไดรับการอบรมสวนใหญ ไดแก วิธีการสอน การออกแบบการสอน การจัดหลักสูตร เปนตน (สถาบันพัฒนาครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษา, 2550) จากขอมูลดังกลาว แสดงวาในการดําเนินการปฏิรูปการเรียนรูท่ีผานมา ถึงแมครูจะไดรับการอบรมจํานวนมากและบอยครั้ง แตครูจํานวนหนึ่งก็ยังปฏิบัติไมไดและบางสวนยังมีความเขาใจคลาดเคลื่อนเก่ียวกับการปฏิรูปการเรียนรู ทําใหคุณภาพผูเรียนไมเปนไปตามเปาหมายท่ีกําหนดไว นั่นคือการพัฒนาครูท่ีผานมายังไมสงผลถึงคุณภาพผูเรียนอยางแทจริง

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2550) ไดสรุปผลการดําเนินงานพัฒนาครูของหนวยงานตาง ๆ ท่ีผานมาพบปญหา ดังนี้ 1) ขาดกระบวนการพัฒนาครูประจําการท่ีมีประสิทธิภาพ ทําใหการพัฒนาครูไมมีคุณภาพและมาตรฐานท่ีชัดเจน 2) ขาดงบประมาณในการพัฒนาครู ทําใหการดําเนินงานพัฒนาครูทําไดไมท่ัวถึง และยังไมสามารถจัดตั้งกองทุนเพ่ือการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือดําเนินเรื่องคูปองวิชาการใหเปนเครื่องมือในการพัฒนาครูได 3) การอบรมสวนใหญมักมีระยะเวลานอย ไมเหมาะสมกับเนื้อหา เนนในหลักการ/ ทฤษฎีมากกวาการไดลงมือปฏิบัติ จึงทําใหครูไมสามารถประยุกตใชความรูจากการอบรมได 4) การอบรมมักจะขาดการติดตามผลอยางตอเนื่อง หลังจากอบรมครูไมคอยไดนําความรูจากการอบรมมาใชหรือขยายผล เพียงแตทํารายงานสงผูบริหารเทานั้น 5) การพัฒนาครูท่ีผานมากอใหเกิดผลกระทบตอการเรียนการสอน เพราะครูตองไปอบรมนอกสถานศึกษา ทําใหครูตองท้ิงการสอน 6) หลักสูตรการพัฒนาครูของหนวยงานตาง ๆ ไมสอดคลองกับความตองการในการพัฒนาตนเองของครู รูปแบบการพัฒนามักใชรูปแบบเดิม ๆ คือ การอบรม การสัมมนา การอบรมในเวลาราชการทําใหครูตองท้ิงหองเรียน สงผลกระทบตอผูเรียน โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กประสบปญหามาก 7) ไมมีนวัตกรรมใหม ๆ ในการพัฒนาครู การฝกอบรมไมเชื่อมโยงกับกิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนและการพัฒนาวิชาชีพครู และ 8) ไมมีการจัดตั้งกองทุนพัฒนาครูและไมไดรับการจัดสรรงบประมาณอยางตอเนื่อง

7. สภาพการพัฒนาครูในโรงเรียนขนาดเล็กโรงเรียนขนาดเล็กในประเทศไทยมีอยูกวา 13,000 โรงเรียน สวนใหญประสบปญหาการ

สอนดานคุณภาพผูเรียน คุณภาพของครูในโรงเรียนขนาดเล็กเปนปญหาหนึ่งท่ีสงผลตอคุณภาพผูเรียนสภาพการพัฒนาครูของโรงเรียนขนาดเล็กในระยะท่ีผานมาในภาพรวมมีสภาพไมแตกตางจากการพัฒนาครูในโรงเรียนขนาดอ่ืน ๆ คือ ในแตละรอบปครูไดรับการพัฒนาคอนขางมาก แตหลักสูตรและสาระในการพัฒนาครูไมชัดเจน คาใชจายในการพัฒนาแตละครั้งสูง ขาดการพัฒนาอยางตอเนื่อง วิธีการพัฒนา

Page 8: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

17

ครูยังใชรูปแบบเดิม ๆ พัฒนาความรูแตขาดการพัฒนาทักษะและการปฏิบัติจริง ทําใหครูไมสามารถประยุกตใชความรูจากการอบรมได ขาดการติดตามผลอยางตอเนื่อง พบวาหลังจากการอบรม ครูไมคอยไดนําความรูจากการอบรมมาใชหรือขยายผล และรูปแบบการพัฒนาครูกอใหเกิดผลกระทบตอการจัดการเรียนการสอน เพราะครูตองไปอบรมนอกสถานศึกษาทําใหครูตองท้ิงการสอน โดยเฉพาะจะมีปญหามากในโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีครูไมครบชั้น ดังนั้นทางแกปญหาคือการอบรมหรือพัฒนาครูท่ีโรงเรียนโดยไมตองใหครูท้ิงหองเรียน ออกจากโรงเรียนไปอบรม

การพัฒนาครูแบบใชโรงเรียนเปนฐาน1. ความหมายและลักษณะสําคัญของการพัฒนาแบบใชโรงเรียนเปนฐาน

การพัฒนาครูหรือการฝกอบรมครูแบบใชโรงเรียนเปนฐานเปนแนวทางหนึ่งท่ีนาสนใจสําหรับการแกปญหาคุณภาพครูในโรงเรียนขนาดเล็ก เนื่องจากเปนแนวคิดการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาในพ้ืนท่ีปฏิบัติงาน โดยไมตองใหครูออกจากโรงเรียน เปนการแกปญหาครูท้ิงหองเรียนไปเขาอบรม คือ การใชโรงเรียนเปนฐานในการพัฒนา แนวทางดังกลาวเปนวิธีการพัฒนาท้ังครูและผูบริหารสถานศึกษาอยางเปนระบบ โดยรวมกันขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนไปพรอม ๆ กันท้ังโรงเรียนเนนการพัฒนาท่ีมีเอกภาพ ยึดสภาพปญหาและความตองการของโรงเรียนเปนหลัก โรงเรียนเปนเจาของโครงการ ดําเนินการพัฒนาโดยกลุมครูหรือกลุมผูบริหารโรงเรียนหรือโรงเรียนใกลเคียงท่ีไดรับการยอมรับ เปนการพัฒนาท่ีเกิดจากการสมัครใจของทุกฝาย โดยมีเปาหมายการพัฒนาคุณภาพผูเรียน แนวทางการดําเนินงานใชกระบวนการรวมคิด รวมวางแผน รวมกันพัฒนาระหวางผูใหกับผูรับการพัฒนาการพัฒนาเนนการฝกปฏิบัติจริงในเนื้อหาท่ีกําลังปฏิบัติ สอดคลองกับงานในหนาท่ี การพัฒนามีความตอเนื่องไมขาดชวง มีกระบวนการพัฒนาท่ีชัดเจน หลังการพัฒนามีกระบวนการติดตามนิเทศชวยเหลืออยางใกลชิด และมีการประเมินผลท่ีเกิดข้ึนจากการพัฒนาเปนระยะ ลักษณะการพัฒนาเปนภาระงานปกติของครู ไมเปนการสรางภาระใหครู แตทุกคนท่ีอยูในกระบวนการพัฒนาตั้งเปาหมายในเรื่องคุณภาพผูเรียนรวมกัน รูปแบบการพัฒนาในลักษณะนี้จะสามารถแกปญหาคุณภาพของครูในสถานศึกษาขนาดเล็กไดเปนอยางดี

เอล-บาส และคณะ (El – Baz and others. 2003) อธิบายเก่ียวกับการฝกอบรมครู โดยใชโรงเรียนเปนฐานวา เปนวิธีการทําใหครูในโรงเรียนไดเตรียมความพรอมในดานสื่อวัสดุการเรียนรู ซึ่งถือเปนเทคนิคพ้ืนฐานของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิธีการอบรมดังกลาวนี้จะชวยพัฒนาใหครูเกิดความสนใจและเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนในหองเรียนมากข้ึน

ศศิธร เขียวกอ (2548) ไดสรุปความหมายของการฝกอบรมครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน จากเอกสารงานวิจัยของ UNESCO (1986) ซาบารและฮาชาฮาร (Sabar and HaShahar. 1999)สุวิมล วองวาณิช (2546) และอรพรรณ พรสีมา และพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ (2546) ไววา เปนกระบวนการพัฒนาการเรียนรูของครูตามสภาพปญหาและความตองการของครูท่ีเขารวมกิจกรรม โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถของครูในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน

Page 9: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

18

วิธีการฝกอบรมเนนการปฏิบัติจริงท่ีนําลงสูหองเรียน มีการรวมกันคิดรวมการวางแผน การจัดการทําหลักสูตรและการปรึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางผูใหกับผูรับการอบรมเปนประจํา เพ่ือชวยกันแกปญหาหรือพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนอยางตอเนื่อง มีกิจกรรมและสื่อการเรียนการสอน มีข้ันตอนการดําเนินงานท่ีประกอบดวย การวางแผน การนําไปปฏิบัติ การตรวจสอบ และการปรับปรุงอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่อง กระบวนการดังกลาวจะมีคุณลักษณะท่ีสําคัญ 7 ประการ (วิษณุ ทรัพยสมบัติ,2549) ดังนี้ 1) การฝกอบรมมุงใหครูเกิดการเรียนรูและการพัฒนาอยางยั่งยืน 2) การฝกอบรมเกิดข้ึนภายในโรงเรียนตามความตองการจําเปนของครูแตละคนซึ่งไมมีผลกระทบตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และครูไมเสียเวลาท่ีตองเดินทางออกไปฝกอบรมนอกโรงเรียนเหมือนการฝกอบรมแบบเดิม 3)สื่อวัสดุการเรียนรูท่ีใชในการฝกอบรมสามารถนําไปใชประโยชนสําหรับการจัดการเรียนการสอนในหองเรียนไดทันที 4) สื่อวัสดุการเรียนรูจัดทําข้ึนดวยการบูรณาการทางภาษาและวิธีวิทยาเขาดวยกัน 5)กระบวนการฝกอบรมเกิดจากผูนําในโรงเรียนหรือครูพ่ีเลี้ยงในโรงเรียนท่ีมีความรูความเชี่ยวชาญ หรืออาจเกิดจากเจาหนาท่ีภายนอกโรงเรียน ไดแก เจาหนาท่ีในระดับจังหวัด หรือเจาหนาท่ีจากหนวยงานสวนกลางเปนผูดําเนินการก็ได 6) กระบวนการฝกอบรมมีคําหลักท่ีสําคัญ คือ กระบวนการวางแผน(process of planning) การปฏิบัติ (implementation) และการประเมินผล (evaluation) และ 7)กระบวนการฝกอบรมเปนกระบวนการท่ีทุกคนตองเขาใจโครงสรางและกระบวนการดําเนินงานท่ีตองเขามาเก่ียวของและรับผิดชอบรวมกันในกิจกรรมท่ีไดปฏิบัติ

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2547) ไดเสนอหลักการพัฒนาครูแบบใชโรงเรียนเปนฐานไว ดังนี้ 1) เปนการพัฒนาท่ีเกิดข้ึนตามสภาพปญหาและความตองการของโรงเรียนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถของครูในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรูและพัฒนาคุณภาพผูเรียน 2) เปนการพัฒนาครูท่ีโรงเรียนหรือชุมชนของโรงเรียนเปนเจาของโครงการ 3) เปนการพัฒนาครูโดยครูหรือกลุมครูเปนผูนําการปฏิรูปการเรียนรูท่ีมีความรู ความเขาใจในการปฏิรูปการเรียนรูและมีความเชี่ยวชาญหรือมีประสบการณการพัฒนาครูแบบใชโรงเรียนเปนฐาน 4) เปนการฝกอบรมท่ีเกิดจากความสมัครใจของครูผูเขารับการฝกอบรมมิใชเปนการบังคับ 5) เปนการรวมคิด รวมศึกษา รวมวางแผน รวมกันพัฒนาระหวางผูใหและผูรับการฝกอบรม 6) เปนวิธีการฝกอบรมท่ีเนนการฝกปฏิบัติจริง ใชสื่อและกิจกรรมการประกอบการอบรมและนําลงสูหองเรียนเพ่ือพัฒนาผูเรียนอยางจริงจัง 7) เปนการฝกอบรมอยางตอเนื่องหลายครั้ง หลายวิธีการท้ังในลักษณะการประชุมกลุมและการพบปะเปนรายบุคลอยางใกลชิดสมํ่าเสมอ เพ่ือรวมกันแกปญหาและพัฒนาการของผูเรียน 8) เปนการฝกอบรมท่ีใชกระบวนการ PDCAคือ มีการวางแผนนําไปปฏิบัติ ตรวจสอบหรือลงมือประเมิน ลงมือแกไขและนําไปปรับปรุงเพ่ือวางแผนเปนวงจรการพัฒนาท่ีตอเนื่อง 9) เปนการฝกอบรมท่ีมีการนิเทศ ติดตามและประเมินผลโดยใชกระบวนการ “กัลยาณมิตรนิเทศ” มีการประเมินหลากหลายรูปแบบ ท้ังกอน ระหวางและหลังจากการอบรม ประเมินผลจากการฝกอบรมของครูผูเขารับการฝกอบรมและประเมินผลจากผูเรียนของครูผูเขารับการฝกอบรมดวย และ 10) เปนการทําหนาท่ีตามภาระปกติเพ่ือยกระดับคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพครูและคุณภาพผูเรียน

Page 10: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

19

2. องคประกอบของการพัฒนาครูแบบใชโรงเรียนเปนฐานสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2547) ไดเสนอองคประกอบการพัฒนาครูแบบใช

โรงเรียนเปนฐาน สรุปไดดังนี้ 1) ผูบริหารสถานศึกษา เปนผูสงเสริม สนับสนุน อํานวยความสะดวกในการพัฒนาครูในโรงเรียนใหสําเร็จตามเปาหมาย และเปนผูผลักดันแผนการพัฒนาครูใหอยูในแผนปฏิบัติการของโรงเรียน 2) ผูจัดฝกอบรม คือ ครูท่ีจะเห็นปญหาและมีความตองการในการฝกอบรม รวมกันจัดอบรมโดยมีวัตถุประสงคตองการแกปญหาท่ีตนประสบอยู 3) ผูใหการฝกอบรม คือ ครูท่ีมีความรูความเขาใจในเรื่องท่ีครูเขารับการอบรม มีความเชี่ยวชาญ สามารถถายทอดประสบการณไดดี เปนท่ียอมรับของเพ่ือนครู 4) ผูเขารับการอบรม คือ ครูท่ีมีความสนใจและสมัครใจเขารับการอบรม 5) ระยะเวลาอบรมข้ึนอยูกับดุลยพินิจของผูจัดอบรมและผูใหการอบรม เปนการดําเนินการท่ีตอเนื่อง สมํ่าเสมอไมขาดตอน ผูใหการอบรมและผูรับการอบรมอาจพบกันในเวลาปฏิบัติงาน สาธิตวิธีการในขณะปฏิบัติงานหรือ พบปะสนทนากันเปนประจําในชวงเวลาวาง เชน หลังเลิกเรียน ชวงพักรับประทานอาหาร ชวงเชากอนเขาเรียนก็ได 6) รูปแบบการพัฒนาไมตายตัว แตมีกระบวนการท่ีเปนระบบ ใชวงจร PDCA เปนกระบวนการตรวจสอบการดําเนินการ และใชกระบวนการกัลยาณมิตรในการพัฒนา คือ (1) การใหมีศรัทธาตอกันระหวางผูอบรมและผูเขารับการอบรม (2) รวมใจ ท้ังผูอบรมและผูใหการอบรมรวมใจกันทํางานเปนทีม (3) ตั้งใจ คือ ทุกคนท่ีอยูในกระบวนการมีความแนวแนตั้งใจเรียนรู ฝกฝน ปรับปรุงแกไขเพ่ือสรางสรรคงานการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพ (4) เปดใจ ทุกคนพรอมและยอมรับท่ีจะพัฒนาตนเอง7) เนื้อหาการอบรมตามความตองการผูอบรมตรงกับงานท่ีปฏิบัติจริงในหองเรียน 8) สถานท่ีอบรมใชในโรงเรียน ในหองเรียน สามารถสาธิตวิธีการปฏิบัติจริงไดทันที 9) งบประมาณตามท่ีโรงเรียนจัดสรร และอยูในแผนงานประจําปของโรงเรียน 10) การประเมินผล มี 3 ระยะ คือ กอน ระหวางและหลังการอบรม

สําหรับเงื่อนไขท่ีจะนําไปสูความสําเร็จ คือ ผูบริหารสถานศึกษาตองเอาใจใส สนับสนุนอยางจริงจัง โดยบรรจุแผนการพัฒนาครูไวในแผนปฏิบัติการของโรงเรียน ผูใหการอบรมตองเปนผูท่ีไดรับการยอมรับอยางแทจริง

3. วัตถุประสงคของการพัฒนาครูแบบใชโรงเรียนเปนฐานการพัฒนาครูโดยใชโรงเรียนเปนฐานของ UNESCO (1986) มีวัตถุประสงค 8 ประการ ดังนี้

1) เพ่ือพัฒนาทักษะสวนบุคคลดานทักษะการสื่อสาร เนื้อหาสาระของการเรียนรู ทัศนคติและคานิยมในการสอน ความรับผิดชอบและมาตรฐานในการปฏิบัติงาน 2) เพ่ือยกระดับสมรรถภาพทางวิชาการท่ีเก่ียวของกับกระบวนการจัดการเรียนการสอน กระบวนการวิจัย การแกปญหา การพัฒนาหลักสูตร การวางแผนและการพัฒนาโปรแกรมทางการศึกษา 3) เพ่ือสรางความรูเก่ียวกับเนื้อหา สาระการเรียนรูในสาขาวิชาตาง ๆ 4) เพ่ือการปรับเปลี่ยนหลักสูตรการเรียนรูใหสอดคลองกับความตองการและการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและสังคม 5) เพ่ือแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึนในโรงเรียน เชน การออกกลางคันของนักเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา 6) เพ่ือสรางความคุนเคยใหกับครูในการใชนวัตกรรมตาง ๆ ของโครงการ/ แผนงาน 7) เพ่ือประโยชนในเชิงบริหารจัดการและใหความรูเก่ียวกับการปฏิบัติงานตาง ๆและ 8) เพ่ือสรางความกาวหนาทางประสบการณในเชิงวิชาชีพใหกับครูแตละคน

Page 11: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

20

นอกจากนี้ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2547) ไดกลาวถึงวัตถุประสงคของการพัฒนาหรือการฝกอบรมครูโดยใชโรงเรียนเปนฐานวา เพ่ือใหครูท่ีเปนผูนําการปฏิรูปการเรียนรูไปชวยพัฒนาเพ่ือนครูใหมีความรู ความเขาใจและสามารถจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญตามแนวการปฏิรูปการเรียนรูและสรางผูนํารุนใหมใหขยายเครือขายการพัฒนาครูในระดับกวางมากข้ึน จนเกิดการปฏิรูปการเรียนรูไปท่ัวประเทศ โดยเนนการฝกปฏิบัติจริง การรวมคิดรวมทํา การนิเทศแบบกัลยาณมิตรและติดตามการประเมินผลอยางใกลชิดและตอเนื่อง

4. ข้ันตอนการพัฒนาครูแบบใชโรงเรียนเปนฐานUNESCO (1986) ไดจัดทําแผนเพ่ือการพัฒนาครูผูสอนใน 5 ประเทศ คือ สาธารณรัฐ

เกาหลี เนปาล ปากีสถาน ปาปวนิวกินี และประเทศไทย ดวยกระบวนการพัฒนาหรืออบรมครูแบบใชโรงเรียนเปนฐาน ซึ่งมีข้ันตอนหลักการของการฝกอบรม 5 ข้ันตอน (อางถึงในวิษณุ ทรัพยสมบัติ,2549) ดังนี้

ข้ันตอนท่ี 1 การระบุปญหาของการฝกอบรม เปนการดําเนินการโดยใชเทคนิคประเมินความตองการจําเปนมาใชวางแผนการฝกอบรม เพ่ือสํารวจปญหาและความตองการของผูเขารับการอบรมโดยอาจใชวิธีการสํารวจ การสัมภาษณ การสังเกต เปนตน ซึ่งขอมูลดังกลาวจะนํามาจัดลําดับความสําคัญสูงสุด เพ่ือวางแผนฝกอบรม ข้ันตอนนี้อาจดําเนินการโดยคณะกรรมการท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน ท้ังนี้โรงเรียนจําเปนตองสงเสริมและสนับสนุนการใชการฝกอบรมเปนแนวปฏิบัติเพ่ือแกปญหา

ข้ันตอนท่ี 2 การกําหนดเกณฑ ในการอบรมนั้นจําเปนตองสรางคาหรือเกณฑท่ีตองการใหเกิดข้ึนจากการฝกอบรมซึ่งเปนเปาหมายท่ีจะเกิดข้ึนภายหลัง

ข้ันตอนท่ี 3 การกําหนดทางเลือกสําหรับการฝกอบรม เปนการใชชุดของเกณฑท่ีจะกําหนดข้ึนจากข้ันตอนท่ีแลวมา เพ่ือกําหนดทางเลือกตาง ๆ ของการฝกอบรม มีการจัดโครงการฝกอบรมพิจารณาคัดเลือกและวิเคราะหทางเลือกตาง ๆ อยางเปนระบบตามความตองการจําเปนท่ีเกิดข้ึน แลวตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติพรอมกับมีการวางแผนและการนําเสนอแผนการปฏิบัติงานตาง ๆ ของการฝกอบรม

ข้ันตอนท่ี 4 การดําเนินการฝกอบรม เปนการนําเอาข้ันตอนท่ีไดในการวางแผนกอนการฝกอบรมมาใชเปนกิจกรรมของการดําเนินงาน เปนกิจกรรมการดําเนินการรวมกันระหวางผูดําเนินการฝกอบรมและผูเขารับการอบรมในโรงเรียน มีการเตรียมการเก่ียวกับวัสดุการฝกอบรม ผูอํานวยความสะดวกหรือผูดําเนินการฝกอบรมและผูรับการฝกอบรมถูกคัดเลือกและดําเนินการรวมกัน ท้ังมีการจัดหาแหลงทรัพยากรท่ีเก่ียวกับวัสดุการเรียนรู และบุคคลเพ่ือใชในการดําเนินการกอนการฝกอบรมจริง อาจมีการดําเนินการฝกอบรมเปนโครงการทดลองเพ่ือเปนการเตรียมความพรอมกอนการปฏิบัติงานจริง

ข้ันตอนท่ี 5 การประเมินผลการฝกอบรม เปนการพิจารณาถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการฝกอบรม รูปแบบท่ีใชสําหรับการประเมินตองใชท้ังการประเมินระหวางการฝกอบรม สรุปผลการฝกอบรม การฝกอบรมโดยใชสมาชิกในกลุมแผนงานหรือผูเขารับการฝกอบรมดําเนินการรวมกัน

Page 12: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

21

นอกจากนี้ สมาคมการศึกษาวิชาครูในยุโรป (อางถึงในสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,2547) ไดระบุถึงแนวทางการพัฒนาครูแบบใชโรงเรียนเปนฐานไว ดังนี้ 1) โรงเรียนตองศึกษาสถานการณท้ังในและนอกโรงเรียน เพ่ือแยกแยะความตองการและศักยภาพบุคลากรในโรงเรียน 2)โรงเรียนตองศึกษาวาเคยประสบความสําเร็จอยางไรในอดีตและควรวางแผนอยางไรตอไปในอนาคต 3)โรงเรียนกําหนดเปาหมายท่ีคาดวาจะเปนไปไดจริงและนําขอมูลเหลานี้มากําหนดแผนการฝกอบรมครู4) โรงเรียนใหครูท่ีเปนผูนําการเปลี่ยนแปลงในโรงเรียนเปนผูใหการฝกอบรมครูในโรงเรียนและอาจมีครูจํานวนไมมากจากโรงเรียนท่ีใกลเคียงมาเขารวมกันฝกอบรมดวย 5) วิธีการฝกอบรมเนนการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน เพ่ือยกระดับความรูและทักษะการจัดการเรียนการสอน 6) เนนการทํางานเปนทีมและการจัดกิจกรรม 7) หลังการฝกอบรมเสร็จสิ้นแลวครูท่ีเขารับการฝกอบรมจะกลายเปนครูผูนําในโรงเรียนของตนตอไป

5. ประเภทของครูผูใหการฝกอบรมโดยใชโรงเรียนเปนฐานศศิธร เขียวกอ (2548) ไดแบงประเภทผูใหการฝกอบรมครูโดยใชโรงเรียนเปนฐานออกเปน

4 ประเภท ดังนี้ประเภทท่ี 1 โรงเรียนจัดหาบุคลากรในโรงเรียน ทําหนาท่ีเปนผูใหการฝกอบรม อาศัย

ปฏิสัมพันธจากการทํางานรวมกันภายในสถานท่ีเดียวกันของบุคลากรท่ีปฏิบัติหนาท่ีท่ีคลายกัน และชวยกันวางแผนการจัดการเรียนการสอน จัดประชุมรวมกันระหวางครูผูมีประสบการณและครูผู เขารับการอบรม

ประเภทท่ี 2 โรงเรียนจัดหาบุคลากรภายนอกโรงเรียนเขามาทําหนาท่ีเปนผูใหการฝกอบรมภายในโรงเรียน อาศัยความรวมมือจากบุคคลหรือหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการศึกษาท่ีอยูภายนอกโรงเรียนเขามาดําเนินการฝกอบรมตามความตองการของครูแตละคนในโรงเรียน โดยครูและผูใหการฝกอบรมจะจัดประชุมรวมกัน เพ่ือหาความตองการจําเปนของครูแตละคน จากนั้นรวมกันวางแผนการเรียนรู รวมท้ังจัดเวลาใหสอดคลองกับชั่วโมงการทํางานและความตองการของครู สไมล และคณะ(Smylie and others, 2001) พบวาการฝกอบรมโดยใชโรงเรียนเปนฐานและใชผูใหการฝกอบรมประเภทท่ี 2 ท่ีอาศัยความรวมมือระหวางบุคลากรภายในและภายนอกโรงเรียน เปนการฝกอบรมท่ีมีคุณภาพมากท่ีสุด

ประเภทท่ี 3 หนวยงานเอกชน ทําหนาท่ีเปนผูใหการฝกอบรม ตั้งแตดําเนินการฝกอบรมภายในโรงเรียน โดยออกแบบการฝกอบรมใหตรงกับความตองการของโรงเรียน มีความยืดหยุนทางดานเนื้อหา ผูใหการฝกอบรม และเวลาในการฝกอบรม เพ่ือสนองความตองการของโรงเรียน

ประเภทท่ี 4 หนวยงานท่ีเก่ียวของกับการศึกษาทําหนาท่ีเปนผูใหการฝกอบรม การฝกอบรมท่ีใชใหผูฝกอบรมประเภทนี้ดําเนินการฝกอบรม ใหโรงเรียนระบุความตองการจําเปนในการฝกอบรมของโรงเรียนเขามาท่ีหนวยงาน จากนั้นหนวยงานท่ีเก่ียวของจะเขาไปประสานงานกับโรงเรียนเพ่ืออกแบบหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการจําเปนดังกลาว แลวจึงเปดหลักสูตรอบรมเหลานี้ข้ึนมาเพ่ือใหครูไดเขาฝกอบรม

Page 13: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

22

6. ประโยชนของการพัฒนาโดยใชโรงเรียนเปนฐานเพาวนรี และคณะ (Pownry and others, 1993) สรุปประโยชนของการฝกอบรมโดยใช

โรงเรียนเปนฐานไวดังนี้ 1) ประโยชนตอโรงเรียน ในดานครูท่ีไมตองท้ิงชั่วโมงการสอนไปอบรม ดานการสรางความรวมมือของครูในโรงเรียน ดานการประหยัดงบประมาณและทรัพยากร 2) ประโยชนตอครูพ่ีเลี้ยง ในดานการสรางความตระหนักและเปนการเสริมพลังใหกับครูพ่ีเลี้ยง 3) ประโยชนตอการพัฒนาวิชาชีพครู 4) ประโยชนตอการสรางเครือขายสนับสนุนการศึกษา

สํานักเลขาธิการสภาการศึกษา (2547) ไดดําเนินโครงการสนับสนุนการพัฒนาครูโดยใชโรงเรียนเปนฐานในป 2545 – 2546 พบวา การพัฒนาครูรูปแบบนี้มีจุดเนน คือการสรางเอกภาพการพัฒนาท่ียึดโรงเรียนเปนฐานจะชวยสรางวัฒนธรรมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพท่ีมีความตอเนื่องและยั่งยืน ประหยัดคาใชจายและมีประสิทธิภาพ และการดําเนินงานใชครูตนแบบ ครูแกนนํา ครูแหงชาติเปนวิทยากรไปอบรมเพ่ือนครูท่ีโรงเรียน

7. การนําแนวการพัฒนาครแูบบใชโรงเรียนเปนฐานไปสูการปฏิบัติการพัฒนาครูแบบใชโรงเรียนเปนฐานมีเปาหมายสําคัญเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการ

พัฒนากระบวนการเรียนรูของครูเพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเรียน หลักการสําคัญของการพัฒนาครูแบบใชโรงเรียนเปนฐาน คือ การพัฒนาตามสภาพปญหาและความตองการของโรงเรียนและผูเขารับการอบรมมีครูผูนําการปฏิรูปการเรียนรูเปนหลักในการฝกอบรม ครูเขารับการอบรมดวยความสมัครใจ วิธีการอบรมเนนการปฏิบัติจริง ใชกระบวนการรวมคิด รวมศึกษาปญหา รวมปฏิบัติ รวมเรียนรูท้ังผูใหการอบรมและผูเขารับการอบรม มีการนิเทศ ติดตามผลและประเมินผลโดยใชกระบวนการกัลยาณมิตรและการทํางานโดยใชวงจร PDCA อยางสมํ่าเสมอและตอเนื่อง ทําใหเกิดนวัตกรรมทางการศึกษาและนวัตกรรมการพัฒนาครูในโรงเรียนท่ียั่งยืน (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2547)

เครือขายการเรียนรู1. ความหมายและความสําคัญของเครือขาย

เครือขายการเรียนรู หมายถึง การเชื่อมโยงหรือการสรางความสัมพันธระหวางบุคคล องคกร เพ่ือแลกเปลี่ยนเผยแพรขอมูลสารสนเทศ สําหรับการนําไปประยุกตใชในการพัฒนาศักยภาพหรือแกปญหาของกลุมบุคคล องคกร ชุมชน (ปาน กิมป, 2540)

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (2545) ไดสรุปหลักการสําคัญของเครือขายการเรียนรูไว ดังนี้ 1) การกระตุนความคิด ความใฝแสวงหาความรู จิตสํานึกในการพัฒนาชุมชนทองถ่ิน และการมีสวนรวมในการพัฒนา 2) การถายทอด แลกเปลี่ยน การกระจายความรูท้ังในสวนของวิทยาการสากลและภูมิปญญาทองถ่ิน เพ่ือสนับสนุนการสรางองคความรูใหม ๆ 3) การแลกเปลี่ยนขาวสารกับหนวยงานตาง ๆ ของท้ังในภาครัฐและเอกชน และ 4) การระดมและประสานการใชทรัพยากรรวมกันเพ่ือการพัฒนาและลดความซ้ําซอนสูญเปลาใหมากท่ีสุด

Page 14: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

23

2. รูปแบบของเครือขายการกําหนดรูปแบบของเครือขายสามารถกําหนดไดหลายรูปแบบตามเกณฑท่ีกําหนดข้ึน เชน

รูปแบบตามความสัมพันธแบบตางๆ ของเครือขาย รูปแบบตามลักษณะความสัมพันธของสมาชิกและแกนกลางประสานงาน และรูปแบบตามลักษณะกิจกรรมของสมาชิก เปนตน ซึ่งรูปแบบดังกลาวมีลักษณะดังตอไปนี้

2.1 รูปแบบตามความสัมพันธแบบตาง ๆ ของเครือขายเม่ือพิจารณาจากรูปแบบความสัมพันธแบบตางๆ ของเครือขายท่ีปรากฏโดยท่ัวไปแลว

พบวามี 3 รูปแบบ คือ เครือขายคู เครือขายแวดลอมระหวางบุคคลและเครือขายแวดลอมท่ีขยายออกไปซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

เครือขายคู คือ เครือขายท่ีมีคนคนหนึ่งเปนศูนยกลาง คนอ่ืนๆ ตางไมมีความสัมพันธกันแตจะมีความสัมพันธเฉพาะกับศูนยกลางเทานั้น

เครือขายแวดลอมระหวางบุคคลหรือเพ่ือนบาน เปนเครือขายท่ีมีความสัมพันธกันแบบ 2 ชั้นคือ เครือขายชั้นแรกกับเครือขายชั้นสอง ท่ีแตละคนในเครือขายตางก็มีเครือขายสัมพันธของตัวเองอันเปนเครือขายกับชั้นสองของคนท่ีอยูตรงกลาง

เครือขายแวดลอมท่ีขยายออกไป เปนเครือขายท่ีแวดลอมคนคนหนึ่งซึ่งอาจขยายออกไปไดโดยไมจํากัด ผลกระทบของเครือขายแตละสวนท่ีมีตอสมาชิกแตละคนอาจลดลงไปเรื่อย ๆ ซึ่งสวนท่ีมีอิทธิพลตอศูนยกลางมากท่ีสุดจะเปนสวนท่ีเปนเครือขายชั้นแรกถึงชั้นท่ีสามเทานั้น นอกจากนี้คนท่ีทําหนาท่ีเปนศูนยกลางในชั้นท่ีสองและสามยังอาจมีพลังเพียงพอท่ีจะทําไหความสัมพันธในเครือขายชั้นแรกเปนไปในทิศทางตรงกันขามก็ได

2.2 รูปแบบตามลักษณะความสัมพันธระหวางแกนกลางประสานงานกับสมาชิกเครือขายเม่ือพิจารณาจากลักษณะความสมัพันธระหวางแกนกลางประสานงานกับสมาชิกเครือขายแลว

จะมี 3 รูปแบบ คือ 1) เครือขายรวมศูนย เปนเครือขายท่ีสมาชิกมีความรวมมือประสานงานและมีความสัมพันธกับศูนยรวมหรือแกนกลางสูง แตความเปนเครือขายกันระหวางสมาชิกดวยกันมีนอยมากหรือไมมีเลย 2) เครือขายกระจาย เปนเครือขายท่ีศูนยรวมหรือแกนกลางประสานงาน ตลอดจนสมาชิกมีการติดตอสื่อสาร ประสานงานรวมมือซึ่งกันและกัน กระจายการประสานงานเชื่อมประสานสัมพันธกันในระหวางสมาชิกดวยกันและกับศูนยกลาง ซึ่งศูนยกลางจะคอยทําหนาท่ีสนับสนุนอํานวยความสะดวกตางๆใหกับสมาชิกเครือขาย และ 3) เครือขายกระจายเชิงซอน เปนเครือขายท่ีศูนยรวมหรือแกนกลางกระจายอํานาจใหสมาชิกเครือขายสามารถติดตอ ประสานงาน รวมมือซึ่งกันและกัน และขยายการติดตอไปยังสมาชิกอ่ืน ๆ ซึ่งสมาชิกเหลานั้นตางก็เปนเครือขายซึ่งกันและกัน มีลักษณะเปนเครือขายเชิงซอนหลายชั้น โดยจะมีศูนยกลางหรือแกนกลางทําหนาท่ีเปนผูประสานงานเครือขายหลายศูนยกลาง

จากรูปแบบเครือขายท่ีพิจารณาจากความสัมพันธของสมาชิกเครือขายและแกนกลางผูประสานงาน จะเห็นวา รูปแบบท่ี 1 เครือขายรวมศูนย จะเปนรูปแบบพ้ืนฐานเบื้องตนของการรวมตัวกันเปนเครือขาย จึงมีสภาพการรวมศูนยประสานงานอยูท่ีแกนกลาง รูปแบบท่ี 2 เครือขายกระจาย เม่ือเครือขาย

Page 15: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

24

รวมตัวกัน มีกิจกรรมรวมกันไประยะเวลาหนึ่ง ความสัมพันธระหวางสมาชิกเครือขายจะมีมากข้ึน การกระจายอํานาจ กระจายความรับผิดชอบและกระจายความรวมมือระหวางสมาชิกในเครือขายจะมีมากข้ึน รูปแบบท่ี 3เครือขายกระจายเชิงซอน ความสัมพันธของสมาชิกมีลักษณะแพรกระจาย และขยายวงไปสูสมาชิกตางๆ มากข้ึน ความสัมพันธของสมาชิกท่ีกระจายตัวออกไปจะเปนการกระจายความเปนเครือขายในเชิงซอนเปนลูกโซเกาะเก่ียวกันอยางตอเนื่อง กลุมแกนประสานงานของเครือขายจึงตองมีหลายคน

2.3 รูปแบบตามลักษณะกิจกรรมของสมาชิกเครือขายเม่ือพิจารณารูปแบบของเครือขายตามลักษณะกิจกรรมของสมาชิกท่ีรวมกันเปนเครือขาย

พบวามี 2 รูปแบบ คือ เครือขายกิจกรรมประเภทเดียวกัน และเครือขายกิจกรรมตางประเภทกัน ซึ่งมีลักษณะดังตอไปนี้

เครือขายกิจกรรมประเภทเดียวกัน เปนเครือขายท่ีสมาชิกดําเนินกิจกรรมประเภทเดียวกันมารวมตัวกัน ประสานงานชวยเหลือเก้ือกูลใหความรวมมือกัน

เครือขายกิจกรรมตางประเภทกัน เปนเครือขายท่ีสมาชิกตางสาขาตางกิจกรรมกันมารวมมือกัน หรือมีกิจกรรมท่ีมีผลสืบเนื่องกันมารวมมือประสานชวยเหลือเก้ือกูลกันในดานขอมูลขาวสาร ความรวมมือและทรัพยากรตางๆ

3. องคประกอบของเครือขาย

เครือขายมีองคประกอบหลายองคประกอบ โดยองคประกอบสําคัญมีดังนี้ 1) สมาชิกของเครือขาย อาจจะเปนบุคคล กลุมคน องคกร หรือชุมชนขนาดตางๆ สมาชิกเปนองคประกอบพ้ืนฐานของเครือขายเพราะถาไมมีสมาชิกเครือขายไมสามารถเกิดข้ึนได 2) วัตถุประสงคและเปาหมายรวมกัน สมาชิกของเครือขายจะตองมีวัตถุประสงคและเปาหมายเหมือนกันมารวมกันเปนเครือขายเพ่ือบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายเดียวกัน 3) ระบบความเปนเครือขาย สมาชิกของเครือขายมารวมกันดวยความสมัครใจ สมาชิกยังคงมีความเปนอิสระในการดําเนินงาน มีความเทาเทียมกันในการดําเนินกิจกรรม มีระบบในการเชื่อมโยงความสัมพันธหรือการถักทอสายใยของความสัมพันธระหวางสมาชิกใหเกิดความยั่งยืน 4) การบริหารจัดการสมาชิกเครือขายเปนผูประสานงาน ทําหนาท่ีประสานงานบริหารและจัดการเครือขายท้ังโครงสรางของเครือขาย ซึ่งรูปแบบของการบริหารจัดการเครือขายข้ึนอยู กับวัตถุประสงคเปาหมายของเครือขายคุณลักษณะของสมาชิกเครือขายเปนสําคัญ 5) ผูประสานงานเครือขาย เครือขายตองมีผูประสานงานทําหนาท่ีประสานงานบริหารและจัดการเครือขายท่ีคัดเลือกโดยสมาชิก 6) กิจกรรมรวมกัน เครือขายตองมีกิจกรรมท่ีสมาชิกรวมกันดําเนินงานเพ่ือการบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายของเครอืขาย ซึ่งควรเปนกิจกรรมในการดําเนินงานของเครือขายตามปกติและกิจกรรมท่ีรวมกันดําเนินการเปนกรณีพิเศษเพ่ือใหสมาชิกของเครือขายไดรวมกิจกรรมกันอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่องโดยการรวมสรุปบทเรียน รวมตัดสินใจ รวมปฏิบัติงานรวมประเมินผลและรวมรับผลประโยชน 7) การรวมพลังสมาชิก เครือขายตองมีการรวมพลังหรือศักยภาพของสมาชิกมาใชในการดําเนินงานรวมกัน เพราะพลังเครือขายเปนพลังท่ีเพ่ิมข้ึนแบบทวีคูณและมีผลตอความสําเร็จของเครือขาย 8) การสนับสนุนสงเสริมซึ่งกันและกัน สมาชิกของเครือขายสนับสนุนสงเสริม

Page 16: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

25

สมาชิกคนอ่ืนๆ ใหประสบความสําเร็จในการดําเนินกิจกรรมของเครือขาย โดยทุกคนตระหนักถึงความสําคัญของสมาชิกแตละคน มีจิตสํานึกในการเปนเจาของเครือขายและการบรรลุเปาหมายของเครือขายรวมกัน 9)ผลงานของเครือขาย เครือขายตองมีผลการดําเนินงานซึ่งเปนเครื่องชี้วัดความสําเร็จ ความสําเร็จดังกลาวคือการดําเนินงานบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายของเครือขาย

ท้ังนี้สมาชิกจะเปนองคประกอบสําคัญท่ีสุดของเครือขายและองคประกอบตาง ๆ จะมีความเชื่อมโยงกันทุกองคประกอบ เพราะตางมีความสําคัญตอความสําเร็จของเครือขาย

4. ลักษณะสําคัญของเครือขาย

ลักษณะสําคัญของเครือขาย ประกอบดวย 1) มีการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางสมาชิกดวยกันอยางเปนระบบ มีพันธสัญญาท่ีเหนียวแนนระหวางสมาชิก ไมยุติความสัมพันธโดยงาย 2) มีลักษณะเปนการรวมพลังหรือศักยภาพของสมาชิกเขาดวยกัน 3) สมาชิกมีการดําเนินกิจกรรมรวมกัน เปนครั้งคราวหรืออยางสมํ่าเสมอและตอเนื่อง 4) มีความสัมพันธเทาเทียมกัน สมาชิกของเครือขายมีโครงสรางความสัมพันธท่ีเสมอภาคกันแบบแนวราบ 5) มีลักษณะเปนพลวัต เครือขายมีระบบการทํางานท่ีเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา ไมหยุดนิ่ง และ 6) มีการเรียนรูรวมกัน เครือขายมีลักษณะของการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณระหวางสมาชิกดวยกันหรือระหวางสมาชิกกับคนอ่ืนๆ

5. แนวทางการพัฒนาความเขมแข็งและความย่ังยืนของเครือขายการสรางความเขมแข็งและความยั่งยืนใหกับเครือขายอาจทําไดดังนี้ 1) การเสริมสราง

วิสัยทัศน “เครือขายพันธมิตร” ใหแกผูนํากลุม / องคกรประชาชน 2) การหนุนเสริมใหมีกําหนดแผนความรวมมือของเครือขายพันธมิตรภายใตแผนกลยุทธของ กลุม/องคกรและการแปลงแผนกลยุทธไปสูแผนปฏิบัติการ 3) การใหความรู/ทักษะ/ประสบการณแกผูนํากลุม/องคกรท่ีมีศักยภาพและความพรอมและปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองคกรใหสอดคลองกับการเปนองคกรพันธมิตรในเครือขาย 4) การเผยแพรวิสัยทัศน/แนวคิด “เครือขายพันธมิตร” และแนวทางการเสริมสรางเครือขายพันธมิตรและผานกลไกสื่อประชาสัมพันธและเวทีวิชาการรูปแบบตาง ๆ แกผูภาครัฐและขบวนการสหกรณ 5) การพัฒนาหลักสูตรและสื่อการเรียนรูตางๆ เปนระบบท่ีจะหนุนเสริมแกผูนําและบริหารจัดการในเรื่องการพัฒนาโครงการและระบบการบริหารจัดการเครือขายพันธมิตรผานกลไกการจัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการท้ังในรูปของหนวยเคลื่อนท่ีและอ่ืนๆ เพ่ือการเขาถึงในการหนุนเสริมการพัฒนาเครือขายพันธมิตรอยางท่ัวถึง 6) การหนุนเสริมใหมีการกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จตามแผนงาน/โครงการอยางชัดเจนเพ่ือการติดตามประเมินผลและการปรับปรุงการดําเนินงานท่ีจะเปนประโยชนตอเครือขาย 7) การผลักดันใหมีกลไกการควบคุมภายในโครงการสรางการบริหารจัดการในลักษณะท่ีสามารถปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรมและการเสริมสรางความรูแกผูนําองคกรพันธมิตรและแกนนําเครือขายใหตระหนักเห็นความสําคัญของกลไกการติดตามประเมินผลและขอมูลยอนกลับเพ่ือพัฒนาเครือขาย การจัดตั้ง “หนวยท่ีปรึกษา” เพ่ือใหบริการในการพัฒนากลไก/การติดตามและขอมูลยอนกลับเพ่ือการพัฒนาเครือขาย 8) การสรางเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางผูนํา/ฝายบริหารจัดการเครือขายใน

Page 17: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

26

การฝกทักษะ/ประสบการณในเรื่องการสรางกลไกการติดตามประเมินผลและขอมูลยอนกลับ เพ่ือการพัฒนาเครือขาย และ 9) การสรางเครือขายพันธมิตร ควรใชวิธีการและเครื่องมือท่ีหลากหลาย ไดแกเทคนิคการวิเคราะหปจจัยสภาพแวดลอม (SWOT Analysis) การสนทนากลุม (focus group) การประชุมเชิงปฏิบัติการ การระดมความคิดเชิงสรางสรรค (AIC) การประชุมระดมความคิด (brainstorming) การวิเคราะหปญหาอยางมีระบบโดยใช problem tree เปนตน

รูปแบบการปฏิรูปการเรียนรูของ วพร.ในชวงสิบปท่ีผานมานอกเหนือจากความพยายามในการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาของ

หนวยงานตนสังกัดแลว ยังมีนักการศึกษาท่ีสนใจทําวิจัยเก่ียวกับการพัฒนาครูตามแนวการปฏิรูปการศึกษา เชน ทิศนา แขมมณี และคณะ (2545-2548) ไดทําวิจัยในโครงการวิจัยและพัฒนาเพ่ือปฏิรูปการเรียนรูท้ังโรงเรียน จํานวน 120 โรง โดยดําเนินการรวมกับนักวิจัยในพ้ืนท่ีตาง ๆ ท่ัวประเทศ ในการดําเนินงานตามโครงการนี้ไดใชกระบวนการของรูปแบบการปฏิรูปการเรียนรู 10 ข้ันตอน ดังนี้

ข้ันท่ี 1 ข้ันการเตรียมการดําเนินงาน ผูริเริ่มความคิดอาจเปนผูบริหารในโรงเรียน ครูในโรงเรียนหรือนักวิชาการจากหนวยงานภายนอกอ่ืน ๆ ก็ได แตจะตองประสานงานใหเกิดเปนคณะกรรมการดําเนินงาน ซึ่งประกอบดวยบุคคลท้ัง 3 ฝาย ดังกลาว คือ 1) ผูบริหารโรงเรียน 2) คณะครูในโรงเรียนท่ีเปนผูนําการเปลี่ยนแปลง และ 3) นักวิชาการหรือผูสนใจท่ีจะรวมศึกษาวิจัยกับโรงเรียน

ข้ันท่ี 2 ข้ันการสรางความตระหนักและกําหนดประเด็นปญหาการวิจัย เปนการสรางความตระหนักใหบุคลากรในโรงเรียนเห็นความสําคัญของการปฏิรูปการเรียนรูท้ังโรงเรียนโดยใชวิธีการตาง ๆการสรางความตระหนักท่ีสามารถทําใหบุคลากรสวนใหญใหความรวมมือได นับวาเปนการเริ่มตนท่ีดีเม่ือบุคลากรทุกฝายมีความเขาใจรวมกันแลว ข้ันตอไปคือ การกําหนดประเด็นปญหาการวิจัยของโรงเรียนรวมกัน โดยเลือกจุดเนนท่ีสอดคลองกับปญหาความตองการตามบริบทของตน

ข้ันท่ี 3 ข้ันการพัฒนาบุคลากร เปนการดําเนินการพัฒนาบุคลากรของโรงเรียนใหมีความรูความเขาใจพ้ืนฐานในเรื่องท่ีจะดําเนินการ ไดแก เรื่องการปฏิรูปการเรียนรู และการจัดการเรียนรูท่ีเปนจุดเนนของตน การพัฒนาการคิดวิเคราะห และการวิจัย รวมท้ังการสรางความรูความเขาใจ เก่ียวกับการบริหารงานวิชาการ เชน การบริหารงานแบบมีสวนรวม การจัดระบบนิเทศภายใน การสงเสริมใหชุมชนเขามามีสวนรวม และการประกันคุณภาพ

ข้ันท่ี 4 ข้ันการวางยุทธศาสตรในการดําเนินงาน บุคลากรทุกฝายควรรวมกันคิดวางยุทธศาสตรหรือแนวทางในการดําเนินงานใหชัดเจนและเขาใจตรงกัน ยุทธศาสตรท่ีควรกําหนด คือยุทธศาสตรในการปฏิรูปท้ังโรงเรียน และยุทธศาสตรยอยดานตาง ๆ เชน ยุทธศาสตรในการวิจัยยุทธศาสตรในการขยายผล

ข้ันท่ี 5 ข้ันการจัดทําแผนการดําเนินงานและแผนงานวิจัยของบุคลากรทุกฝาย เม่ือโรงเรียนกําหนดประเด็นปญหาการวิจัยไดแลว แตละฝายควรคิดวางแผนการดําเนินงานวิจัยในสวนท่ีเปนงาน

Page 18: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

27

รับผิดชอบของตนซึ่งอาจดําเนินการเปนรายบุคคลหรือรวมกลุมกันทําก็ไดแลวแตความเหมาะสม โดยมีการกําหนดคําถามการวิจัยใหชัดเจน และจัดทําแผนงานวิจัยและพัฒนาของตน/กลุมข้ึน

ข้ันท่ี 6 ข้ันการพัฒนาตัวบงช้ีความสําเร็จของการดําเนินงาน เพ่ือชวยใหผูรวมงานทุกฝายมองเห็นสภาพท่ีคาดหวังจากการปฏิรูปไดตรงกัน โรงเรียน/สถานศึกษาควรดําเนินการจัดทําตัวบงชี้ความสําเร็จใน 3 ดาน คือ 1) ตัวบงชี้ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง (ตัวแปรตามของการวิจัย) 2) ตัวบงชี้วิธีการจัดการเรียนรู (ตัวแปรตนของการวิจัย และ 3) ตัวบงชี้ความสําเร็จของการดําเนินงานการปฏิรูปการเรียนรูท้ังโรงเรียนดวยการวิจัยและพัฒนางาน การพัฒนาตัวบงชี้ใน 3 ดาน ดังกลาว จะชวยใหเห็นภาพงานท่ีชัดเจนชวยพัฒนาความเขาใจของผูปฏิบัติงานและเปนแนวทางในการวัดผล การสรางเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล และการสรางเกณฑการประเมินดวย

ข้ันท่ี 7 ข้ันการจัดทําเครื่องมือ ทุกฝายท้ังครู ผูบริหาร และนักวิชาการภายนอกควรจัดเตรียมเครื่องมือการปฏิบัติงานใหพรอมกอนจะทําใหการดําเนินงานเปนไปอยางราบรื่นและไดผลสงูสุด

ข้ันท่ี 8 ข้ันปฏิบัติการวิจัยและพัฒนา การเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล เม่ือทุกฝายมีความเขาใจในงาน มีแผนปฏิบัติการ และเครื่องมือการวิจัยพรอมแลว สามารถเริ่มปฏิบัติการตามแผนไดดังนี้

8.1 เก็บรวบรวมขอมูลเสนฐาน (baseline data) ทุกฝายเก็บรวบรวมขอมูลเสนฐานท่ีจําเปนตองานของตน โดยใชเครื่องมือท่ีเตรียมไว

8.2 ครูปฏิบัติการจัดการเรียนการสอน ปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาและปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน โดยครูลงมือจัดการเรียนการสอนตามแผนโดยใชวิธีการหลักท่ีกําหนดไว (ตัวแปรตน) และเก็บรวบรวมขอมูล ผลการเรียนรูของผู เรียน(ตัวแปรตาม) ท้ังท่ีเปนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุมประสบการณตาง ๆ และท่ีเปนผลการเรียนรูตามจุดเนนของโรงเรียน แลวนําผลการทดลองมาปรับวิธีการใหดีข้ึนตามลําดับเปนวงจรไปเรื่อยๆ ครูทุกคนปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนดวยวิธีการท่ีกําหนดไว เก็บรวบรวมขอมูลและสรุปผล และสงผลใหแกโรงเรียน ซึ่งผูบริหารอาจแตงตั้งคณะกรรมการข้ึนมาสังเคราะหผลงานวิจัยท้ังหมดเปนภาพรวมของโรงเรียน ดําเนินการเชนนี้เรียกไดวาเปนการวิจัยและพัฒนาแบบรวมพลังของครูทุกคน ในขณะท่ีครูทดลองใชวิธีการท่ีกําหนด ครูอาจพบปญหาเก่ียวกับการใชวิธีการนั้น ๆ ซึ่งครูควรดําเนินการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเก่ียวกับการใชวิธีการนั้น เพ่ือแกปญหาหรือพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนดวยจะชวยใหครูสามารถแกปญหา พัฒนาผูเรียน และผลิตความรูใหม ๆ ทําใหไดวิธีการและแนวทางท่ีครูทดลองใชแลวไดผล ซึ่งเหมาะสมกับเด็กไทยและบริบทไทย โดยเฉพาะอยางยิ่ง เม่ือโรงเรียน/สถานศึกษามีการรวบรวมและสังเคราะหผลงานวิจัยของครูท้ังหมด ก็จะทําใหเกิดองคความรูระดับโรงเรียนข้ึน

Page 19: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

28

8.3 ผูบริหารดําเนินงานตามแผนงานท่ีสําคัญ 3 ดาน และดําเนินการศึกษาวิจัยในประเด็นท่ีตนสนใจ และนักวิจัยภายนอกก็ดําเนินงานตามแผนงาน และดําเนินการวิจัยตามแผน เก็บรวบรวมขอมูลวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลดวยเชนกัน

ข้ันท่ี 9 ข้ันการสรุปผลและการขยายผล9.1 การสรุปผลงาน หลังจากการดําเนินงานตามลําดับรวม 8 ข้ันตอน ดําเนินการรวบรวม

ผลงานท้ังหมดและสรุปผลงานและงานวิจัยของตน คณะวิจัยของโรงเรียน/คณะกรรมการ รวบรวมผลงานครูและสังเคราะหเปนภาพรวมโรงเรียน (คณะกรรมการ) รวบรวมขอมูลครู ผูบริหาร และนักวิจัยภายนอก และเขียนรายงานการวิจัย รวมท้ังจัดเก็บผลงานอยางเปนระบบจะเปนประโยชนตอการใชประโยชนดานตาง ๆ รวมท้ังดานการประเมินคุณภาพภายนอก

9.2 การขยายผล เม่ือดําเนินการไดผลในระดับหนึ่ง โรงเรียนควรจัดทํานโยบายเชิงยุทธศาสตรและเรงรัดใหมีการนําไปปฏิบัติโดยทุกฝายท่ีเก่ียวของภายในสถาบันของตน เชน กําหนดใหงานการปฏิรูปการเรียนรูท้ังโรงเรียนเปนสวนหนึ่งของระบบงานปกติ มีการจัดทําระบบเชื่อมโยงหรือการสรางเครือขายภายในสถานศึกษาภายในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเดียวกันและตางเขตกัน

ข้ันท่ี 10 ข้ันการประเมินความสําเร็จของการดําเนินงาน สถานศึกษาควรประเมินความสําเร็จของการดําเนินงาน โดยพัฒนาเกณฑประเมินความสําเร็จ และประเมินความสําเร็จท่ีตั้งไว

กระบวนการท้ัง 10 ข้ันตอนดังกลาว มียุทธศาสตรเฉพาะของแตละข้ันตอน และยุทธศาสตรรวมของทุกข้ันตอน นําเสนอไดดังตารางท่ี 2.1

Page 20: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

29

ตารางท่ี 2.1 ยุทธศาสตรเฉพาะและยุทธศาสตรรวมของข้ันการดําเนินงานตามรูปแบบการปฏิรูปการเรียนรู วพร.

ข้ันตอนการดําเนินการตามรปูแบบการปฏิรูปการเรียนรู วพร.

ยุทธศาสตรเฉพาะของแตละข้ันตอน

ยุทธศาสตรรวมของทุกข้ันตอน

ข้ันท่ี 1 ข้ันการเตรียมการดําเนินงาน 1.การสรางความรูดวยตนเอง (school – basedconstructivism)2.การเรียนรูโดยการปฏิบัติอยางเปนระบบและอยางตอเนื่อง (system andconsistency inautonomy learning)3. การมีพ่ีเลี้ยงท้ังภายนอกและภายในโรงเรียน(inside and outsidementoring system)4. การสื่อสารท่ีมีคุณภาพประสิทธิภาพ (effectivecommunication)5. การรวมพลัง(collaboration)6. การเสริมพลังอํานาจ(empowerment)

ข้ันท่ี 2 ข้ันการสรางความตระหนักและกําหนดประเด็นปญหาการวิจัย

การกําหนดจุดเนนและการสรางวิสัยทัศนรวม (focus andcommon vision)

ข้ันท่ี 3 ข้ันการพัฒนาบุคลากร การใชทฤษฎีและการวิจัยเปนฐานในการปฏิบัติ (theory andresearch into practice :TRIP)

ข้ันท่ี 4 ข้ันการวางยุทธศาสตรการดําเนินงาน

การใชทฤษฎีและการวิจัยเปนฐานในการปฏิบัติ (TRIP)

ข้ันท่ี 5 ข้ันการจัดทําแผนการดําเนินงานและแผนงานวิจัยของบุคลากรทุกฝาย

การบูรณาการ (integration) +TRIP

ข้ันท่ี 6 ข้ันการพัฒนาตัวบงชี้ความสําเร็จของการดําเนินงาน

การใชทฤษฎีและการวิจัยเปนฐานในการปฏิบัติ (TRIP)

ข้ันท่ี 7 ข้ันการจัดทําเครื่องมือ การใชทฤษฎีและการวิจัยเปนฐานในการปฏิบัติ (TRIP)

ข้ันท่ี 8 ข้ันปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาการเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล

-การใชทฤษฎีและการวิจัยเปนฐานในการปฏิบัติ (TRIP)

ข้ันท่ี 9 ข้ันการสรุปผลและการขยายผลข้ันท่ี 10 ข้ันการประเมินความสําเร็จของการดําเนินงาน

-การประเมินอยางครอบคลุม(comprehensiveevaluation)

Page 21: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

30

การวิจัยปฏิบัติการแบบมสีวนรวมการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมเปนแบบแผนการวิจัยอยางหนึ่งท่ีเปดโอกาสใหชุมชน

กลุมเปาหมายเขามามีสวนรวมในการระบุสภาพปญหา แนวทางกระบวนการแกปญหา การดําเนินงานการสรุปผล เพ่ือใหไดผลตรงตามสภาพจริง เกิดการยอมรับของผูมีสวนเก่ียวของ นําไปสูการแกปญหาและการใชประโยชนตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวมวัตถุประสงคสําคัญของการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม ไดแก1. เพ่ือใหผูมีสวนเก่ียวของ มีสวนรวมในการปรับปรุง พัฒนางาน และแกปญหาท่ีเกิดข้ึน

ในการปฏิบัติงานเพ่ือใหไดงานท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากข้ึน2. เพ่ือเพ่ิมพลังอํานาจในการตัดสินใจพัฒนางานและแกปญหาท่ีเกิดข้ึนในการปฏิบัติงาน

ของผูมีสวนเก่ียวของ3. เพ่ือสรางวัฒนธรรมการทํางานและการแกปญหาในการปฏิบัติงานอยางเปนระบบ

ลักษณะสําคัญของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม1. การศึกษาประเด็นเก่ียวกับการปฏิบัติ การวิจัยเชิงปฏิบัติการมีวัตถุประสงคเพ่ือ

ศึกษาปญหาจริง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในสถานศึกษา ดังนั้น ผูวิจัยจะศึกษาเก่ียวกับประเด็นปญหาในเชิงปฏิบัติซึ่งจะทําใหเกิดประโยชนทันทีกับการศึกษา ประเด็นปญหาอาจเก่ียวกับครูในชั้นเรียนเพียงคนเดียวหรือครูหลายคนในแผนกหรือฝายตาง ๆ อาจจะเปนปญหาของโรงเรียนในชุมชน หรือนโยบายหรือโครงสรางของโรงเรียนท่ีเปนอุปสรรคตออิสรภาพและการทํางานของแตละคน หรืออาจเปนประเด็นปญหาเก่ียวกับบุคคลท่ีอาศัยอยูในอําเภอในเมืองนั้น ๆ การวิจัยดังกลาวมิไดมีความประสงคเพ่ือสรางพัฒนาความรูในตัวมันเอง แตเพ่ือท่ีจะพัฒนาและประยุกตใชกับเปาหมายเฉพาะ ณ เวลานั้น ๆ

2. ศึกษาการปฏิบัติของผูวิจัย-นักการศึกษาเอง ผูวิจัยเชิงปฏิบัติการจะศึกษาและสนใจเก่ียวกับการปฏิบัติงานของตนเองมากกวาไปศึกษาประเด็นปญหาของผูอ่ืน ในกรณีนี้ผูวิจัยเชิงปฏิบัติการจึงเก่ียวของกับตนเองโดยเชื่อมโยงกับการมีสวนรวมของผูอ่ืนในขอบเขตของการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ประเด็นปญหาในโรงเรียนหรือเก่ียวของกับการปฏิบัติตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึน การวิจัยดังกลาวมีลักษณะของการศึกษาสถานการณท่ีอยูรอบ ๆ ตัวผูวิจัยเอง เปนการไตรตรองในสิ่งท่ีไดเรียนรูมาเพ่ือพัฒนาตนเองเหมือนกับการท่ีผูวิจัยตองการปรับปรุงการจัดการศึกษาหรือการจัดการเรียนการสอนของตนใหดีข้ึน ผูวิจัยเชิงปฏิบัติการทําการทดลองดวยตนเอง ตรวจสอบการกระทําและสถานการณตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนและตอจากนั้นก็นําสิ่งท่ีไดเรียนรูมาเปนพ้ืนฐานของการปรับปรุงสรางการกระทําใหมในอนาคต ดังนั้นจึงเรียกการวิจัยแบบนี้วา “พลวัตของการไตรตรองตนเอง”

3. เปนการรวมปฏิบัติการกับผูอ่ืน ผูวิจัยเชิงปฏิบัติการทํางานรวมกันกับผูอ่ืน เปนการรวมมือกับกลุมสมาชิกท่ีเก่ียวของกับการวิจัย กลุมสมาชิกเหลานี้อาจเปนสมาชิกภายในกลุม สมาชิกภายในโรงเรียนหรือกลุมบุคคลภายนอกเชนผูเชี่ยวชาญทางการวิจัยหรือกลุมอาชีพตาง ๆ ท่ีเก่ียวของในชุมชนการเขามามีสวนรวมของกลุมบุคคลภายนอกนั้นไมไดเปนเพียงการรวบรวมหรือการนําขอมูลตาง ๆ มา

Page 22: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

31

ใหเทานั้น แตมีความหมายไปถึงการเขามามีบทบาทในการคิด การกระทํา การรับรูและเก่ียวของไปพรอม ๆ กันกับกลุมสมาชิกอ่ืน ๆ ในเรื่องท่ีจะวิจัยนั้น (สติงเจอร, 1999) รวมไปถึงการสรางบรรยากาศของการยอมรับและความสัมพันธท่ีรวมมือกัน การสื่อสารดวยรูปแบบท่ีจริงใจและเหมาะสม และการรวมบุคคลท่ีเก่ียวของกับประเด็นปญหาทุกคนทุกกลุมมาชวยเหลือกัน แตละบุคคลอาจมีหนาท่ีท่ีแตกตางกันไปพรอมกับปรับเปลี่ยนบทบาทกันบางระหวางการทํางาน สิ่งสําคัญคือความคิดท่ีจะทํางานรวมกันจะนําไปสูความเขาใจในบทบาทหนาท่ีของแตละบุคคลได

4. การใชกระบวนการพลวัต ผูวิจัยเชิงปฏิบัติการเก่ียวของกับกิจกรรมท่ีทําซ้ํา ๆ เปนวงจรพลวัต ประเด็นสําคัญคือผูวิจัยดําเนินการวิจัยซ้ําไปซ้ํามาระหวางการคิดไตรตรองปญหา การรวบรวมขอมูลและการนําไปลงมือปฏิบัติ กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการมิไดเปนไปในแนวเสนตรงหรือเปนผลโดยบังเอิญจากปญหาสูการปฏิบัติ แตเปนกระบวนการของการคิดไตรตรอง การรวมรวบขอมูล ความพยายามแกไขปญหาท่ีหมุนเวียนอยางเนื่องอยางมีเหตุผลตลอดกระบวนการ ดังภาพท่ี 2.1

ภาพท่ี 2.1 วงจรแสดงพลวัตของการกระทํารวมกันอยางตอเนื่องในการวิจัยเชิงปฏิบัติการท่ีมา: สตริงเจอร (1999) Stringer, E.T. Action Research, p. 19

5. การพัฒนาแผนปฏิบัติการ ข้ันตอนตอไปคือการระบุแผนปฏิบัติการ ผูวิจัยจะตองสรางรูปแบบของแผนปฏิบัติการเพ่ือนําไปสูการแกปญหา แผนปฏิบัติการดังกลาวอาจรวมไปถึงการนําเสนอขอมูลตอผูท่ีมีสวนเก่ียวของท่ีสําคัญ การรางโปรแกรมตัวอยาง การปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ หลาย ๆ ครั้งหรือการดําเนินการโครงการวิจัยอยางตอเนื่องเพ่ือนําไปสูขอคนพบใหม (สติงเจอร, 1999) แผนปฏิบัติการอาจเปนแผนอยางเปนทางการ หรือการสนทนาอยางไมเปนทางการเก่ียวกับสิ่งท่ีจะดําเนินการท่ีเก่ียวของกับกลุมบุคคลเล็ก ๆ เชน กลุมนักเรียนในชั้นเรียน หรือ เก่ียวของกับชุมชนท้ังหมด

6. การรายงานผลการวิจัยในรูปแบบท่ีถือปฏิบัติกันมานั้นสวนใหญจะนําผลการวิจัยไปลงในวารสารทางวิชาการและหนังสือสิ่งพิมพเทานั้น แตสําหรับการวิจัยเชิงปฏิบัติการผูวิจัยจะรายงานตอผูบริหารโรงเรียนซึ่งสามารถนําผลการวิจัยไปปรับปรุงพัฒนาไดทันที รายงานผลการวิจัยตอโรงเรียนในทองถ่ิน ชุมชนและบุคลากรทางการศึกษา ผลการวิจัยเชิงปฏิบัติการก็สามารถนําเสนอในวารสารเชิงวิชาการได อยางไรก็ตาม ผูวิจัยเชิงปฏิบัติการมักจะใหความสนใจท่ีจะนําเสนอผลการวิจัยใหกับบุคคลในทองถ่ินมากกวาเพราะสามารถสนับสนุนสงเสริมใหนําไปสูการเปลี่ยนแปลงหรือการลงมือปฏิบัติใน

Page 23: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

32

องคกรหรือในชั้นเรียนของครูเองได ฉะนั้นเปาหมายของการขยายผลคือครูดวยกันเอง อาจารยใหญของโรงเรียน บุคลากรในโรงเรียนและผูปกครองท่ีเก่ียวของ นอกจากนั้นระบบของเว็บไซตของโรงเรียนระบบออนไลนของสถาบันตาง ๆ ก็เปนชองทางใหผูวิจัยยังสามารถขยายผลประชาสัมพันธไดเชนเดียวกัน เวทีการสนทนาทางนวัตกรรมใหมท่ีจัดข้ึนในหลาย ๆ โอกาสก็เปนอีกชองทางหนึ่งท่ีผูวิจัยสามารถนําเสนอผลงานของตนเองได สวนรูปแบบของการนําเสนอนั้นอาจเปนไดท้ังบทละคร บทกวีบทความ แผนสไลดหรือดนตรี เปนตน

ข้ันตอนในการทําวิจัยเชิงปฏิบัติการ ประกอบดวย 8 ข้ันตอน ดังนี้ข้ันตอน 1 พิจารณาความเปนไปไดและเหมาะสมท่ีจะใชการวิจัยเชิงปฏิบัติการการวิจัยเชิงปฏิบัติการเปนรูปแบบประยุกตของการคนหาขอเท็จจริงท่ีเปนระบบและมี

ประโยชนอยางยิ่งตอหลาย ๆ สถานการณ ผูวิจัยอาจจะใชเพ่ือนําเสนอประเด็นปญหา ซึ่งโดยปกติจะเก่ียวของกับสถานการณการทํางานของผูวิจัยหรือในชุมชนของผูวิจัย การทําวิจัยดังกลาวตองใชระยะเวลาในการรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลและการทดสอบทางเลือกท่ีหลากหลายในการแกไขปญหา โดยหลักการแลวการท่ีจะชวยใหกระบวนการทําวิจัยเชิงปฏิบัติการดังกลาวเปนไปไดดวยดี ผูวิจัยจําเปนตองอาศัยความรวมมือจากหลายฝายซึ่งเปนผูท่ีจะไดรับประโยชนจากผลการวิจัยนั้นและเปนผูท่ีสามารถมารวมในโครงการวิจัยนั้นๆ ได นอกจากนั้นการวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้ยังตองการความเขาใจถึงวิธีการรวบรวมขอมูลท่ีหลากหลายท้ังในรูปแบบของปริมาณและคุณภาพ เพ่ือนําไปสูการวางแผนเชิงปฏิบัติการตอไปได

ข้ันตอน 2 ระบุปญหาท่ีจะศึกษาเงื่อนไขท่ีสําคัญท่ีสุดในกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการคือ ปญหานั้นๆ ตองไดรับการแกไข

ปญหาดังกลาวตองเปนปญหาในเชิงปฏิบัติการท่ีผูวิจัยเผชิญอยูหรือในชุมชนของผูวิจัยเอง(Kemmis &Wilkinson, 1998) ผูจัดการศึกษาจะตองพิจารณาถึงประเด็นปญหาท่ีจําเปนตอการคนควาดวยกระบวนการไตรตรองท่ีดีโดยอาจจะบันทึกปญหาท่ีเกิดข้ึนหรือเขียนเปนลักษณะคําถามท่ีตองการคนควาหาคําตอบ

วิธีการท่ีจะเริ่มตนการศึกษาคนควาคือการหาประเด็นการวิจัย ในระหวางการเริ่มตนหาประเด็นปญหาท่ีตองการแกไขนั้น ผูวิจัยอาจจะเกิดปญหาท่ีตามมาหลายประการในตอนเริ่มตนของการวิจัย(Schmuck, 1997) ผูวิจัยเชิงปฏิบัติการอาจเริ่มตนดวยการรวบรวมขอมูล ประเมินผลขอมูลท่ีไดมา หรือแมแตการทดลองวางแผนการปฏิบัติการ

ข้ันตอน 3 ระบุแหลงท่ีจะชวยกําหนดปญหาการสืบหาจากแหลงคนควาท่ีหลากหลายจะชวยในการศึกษาปญหา วรรณกรรมและขอมูลท่ีมี

อยูอาจจะชวยในการสรางแบบแผนในการลงมือปฏิบัติ ผูวิจัยจําเปนตองมีการทบทวนคนควาวรรณกรรมท่ีเก่ียวของและพิจารณาถึงผลการวิจัยท่ีผานมา การสอบถามเพ่ือนผูวิจัยเพ่ือขอคําแนะนําจะชวยเริ่มตนการวิจัยไดเปนอยางดี การเขารวมทีมทํางานวิจัยของมหาวิทยาลัยหรือผูท่ีมีความรูใน

Page 24: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

33

ชุมชน หรือศึกษากับบุคคลท่ีเคยทําวิจัยเชิงปฏิบัติการมากอนก็สามารถชวยทําใหเกิดความเขาใจในระหวางการทําวิจัยเชิงปฏิบัติการไดดวยเชนเดียวกัน

ข้ันตอน 4 ระบุขอมูลท่ีตองการวางแผนยุทธวิธีในการรวบรวมขอมูล หมายความวาผูวิจัยตองตัดสินใจวาใครจะสามารถให

ขอมูลได กลุมเปาหมายก่ีคนท่ีจะทําการศึกษา วิธีการเขาถึงคนเหลานั้น ความกลมกลืนและการสนับสนุนท่ีผูวิจัยคาดหวังจากผูใหขอมูล กรณีท่ีผูวิจัยจัดทําวิจัยเพ่ือขอจบหลักสูตรการศึกษาใด ๆ ผูวิจัยจําเปนตองเสนอรูปแบบของการเก็บรวบรวมขอมูลตอคณะกรรมการเพ่ือทบทวนความเปนไปไดดวย

สิ่งท่ีจะตองพิจารณาตอไปคือ ขอมูลชนิดใดท่ีผูวิจัยตองการรวบรวม เปนขอมูลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ หรือท้ังสองรูปแบบ ซึ่งจะชวยใหผูวิจัยไดเขาใจถึงความเปนไปไดของขอมูลท่ีจะนํามาใชท้ังสองรูปแบบ ตัวอยางเชน มิลส (Mills) (2000) ไดทําการวิจัยโดยอาศัยขอมูลท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพใน 3 ลักษณะ ดังนี้ 1) ดานประสบการณ ดวยวิธีบันทึกการสังเกตและการสนทนา 2) ดานการคนหา ดวยวิธีการสอบถามจากบุคคล และ 3) ดานการตรวจสอบ ดวยวิธีการบันทึก

ข้ันตอน 5 การนําขอมูลมาใชการรวบรวมขอมูลจะตองใชเวลามากโดยเฉพาะอยางยิ่งถาผูวิจัยเก็บขอมูลมาจากหลายแหลง

นอกจากนั้นผูรวมทีมทํางานอาจมีเวลาจํากัดในการท่ีจะดําเนินการตามแผนการเก็บขอมูลหรือการสัมภาษณท้ังหมด ความถูกตองของขอมูลท่ีบันทึกรวบรวมมา การนําขอมูลมาแยกเก็บเปนประเภท การระบุกําหนดประเภทขอมูล การวิเคราะหประเภทขอมูล และรวมถึงการพิจารณาคุณภาพของขอมูลท่ีไดมาเปนสิ่งสําคัญในการเก็บรวบรวมขอมูล

ข้ันตอน 6 การวิเคราะหขอมูลผูวิจัยอาจดําเนินการวิเคราะหขอมูลดวยตนเองหรือขอความชวยเหลือจากผูเชี่ยวชาญใน

วิเคราะหขอมูลโดยเฉพาะ ทานอาจจะแสดงผลการวิจัยใหกับผูอ่ืนไดชวยในการตีความในสิ่งท่ีคนพบทานอาจจะใชวิธีเปรียบเทียบขอมูลกลุมยอยหรือศึกษาความสัมพันธในหลาย ๆ ตัวแปรก็ได แตโดยท่ัวไปการใชสถิติเชิงบรรยายก็ถือวาเปนการเพียงพอแลวสําหรับการวิเคราะหขอมูล สิ่งสําคัญคือการจัดการกับการวิเคราะหขอมูลเพ่ือสามารถนําไปใชใหเปนประโยชนในการวางแผนปฏิบัติการตอไป

ข้ันตอน 7 การวางแผนปฏิบัติการแผนปฏิบัติการอาจเปนขอความท่ีเขียนไวแบบไมเปนทางการเก่ียวกับการจัดการศึกษาแบบใหม

ท่ีจะตองนําไปใช หรือเปนแผนปฏิบัติการท่ีมีวิธีการหลากหลายในการจัดการกับปญหา หรือรวมถึงการแบงปนสิ่งท่ีไดเรียนรูมากับกลุมทีมงานครู ผูรวมงาน โรงเรียนหรือชุมชนอ่ืน ๆ แผนอาจเขียนไวอยางเปนทางการหรือทําเปนเพียงเคาโครงกวาง ๆ อาจพัฒนาข้ึนมาจากความรวมมือของนักการศึกษาหรือผูทําวิจัยเองก็ได

Page 25: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

34

ข้ันตอน 8 การนําแผนปฏิบัติการไปใชและการตรวจสอบการวิจัยเชิงปฏิบัติการในหลาย ๆ โครงการ หมายถึงการนําแผนท่ีวางไวไปดําเนินการและ

ตรวจสอบดูวามีการเปลี่ยนแปลงหรือไม สิ่งนี้รวมไปถึงความพยายามในการท่ีจะแกไขปญหา การติดตามถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึน การพิจารณาถึงผลท่ีเกิดข้ึนจําเปนตองยอนกลับไปดูคําถามของการวิจัยท่ีตองการหาคําตอบโดยเปรียบเทียบกับผลการวิจัยท่ีเกิดข้ึนนั้น

ผูวิจัยจะตองไตรตรองสิ่งท่ีไดเรียนรูมาจากการนําแผนไปปฏิบัติและแบงปนขอคนพบกับผูอ่ืนกับเพ่ือนรวมอาชีพ กับคณะกรรมการโรงเรียน ผูวิจัยในระดับมหาวิทยาลัย หรือผูกําหนดนโยบาย ในบางกรณีกระบวนการแกไขอาจจะไมนําไปสูความสําเร็จ อันเปนเหตุท่ีจะนําไปสูการทดลองความคิดใหมเพ่ือนําไปสูการเปลี่ยนแปลงใหม ดวยเหตุนี้โครงการวิจัยหนึ่งอาจจะนําไปสูโครงการวิจัยอีกโครงการหนึ่งท่ีเก่ียวของตอไปก็ได

การประเมินผลการวิจัยเชิงปฏิบัติการการประเมินผลคุณภาพของการทําวิจัยเชิงปฏิบัติการใหพิจารณาประเด็นตอไปนี้ซึ่งสามารถ

นําไปวิเคราะหไดท้ังการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมและเชิงการปฏิบัติ (Mills, 2000; Kemmis &Wilkinson, 1998):

1. การวิจัยเปนประเด็นปญหาในเชิงปฏิบัติท่ีชัดเจนและจําเปนตองไดรับการแกไขหรือไม2. ผูวิจัยไดรวบรวมขอมูลอยางเพียงพอท่ีจะไปสูการกําหนดปญหาหรือไม3. ผูวิจัยไดรวมกับบุคคลอ่ืนในระหวางทําการศึกษาคนควาหรือไม ไดใหการยอมรับกับ

ผูรวมงานทุกคนหรือไม4. แผนปฏิบัติการเกิดข้ึนจากการศึกษาขอมูลอยางสมเหตุสมผลหรือไม5. มีหลักฐานอะไรท่ีแสดงใหเห็นวาแผนปฏิบัติการนั้นเกิดข้ึนมาจากการคิดไตรตรองของผูวิจัย

อยางเชี่ยวชาญ6. งานวิจัยไดเพ่ิมคุณภาพชีวิตของผูรวมงานใหมีพลังอํานาจในตัวเองมากข้ึน เกิดการ

เปลี่ยนแปลงในตนเอง หรือทําใหเกิดความเขาใจใหมหรือไม7. การวิจัยเชิงปฏิบัติการไดนําไปสูการเปลี่ยนแปลงจริง ๆ หรือวิธีการแกปญหาทําใหเกิด

ความแตกตางข้ึนใหมหรือไม8. ผลการวิจัยเชิงปฏิบัติการไดถูกรายงานใหกับผูท่ีเก่ียวของซึ่งอาจจะนําขอมูลเหลานี้ไปใช

หรือไม

Page 26: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

35

ผูนําการเปลี่ยนแปลงผูบริหารสถานศึกษาเปนบุคคลสําคัญในการพัฒนาครูของโรงเรียน เปาหมายในการพัฒนาครู

คือการปรับเปลี่ยนแนวคิด แนวปฏิบัติดานการเรียนการสอนอันเปนภาระความรับผิดชอบหลักใหมีคุณภาพ ประสิทธิภาพมากข้ึน การเปลี่ยนแปลงในเรื่องใด ๆ ยอมตองอาศัยเวลาและวิธีการในการเปลี่ยนแปลง ผูบริหารจึงตองมีการพัฒนาตนเองเชนกันเพ่ือใหสามารถเปนผูนําการเปลี่ยนแปลงไดอยางมีประสิทธิภาพ นําองคกรและบุคลากรไปสูความสําเร็จตามจุดมุงหมาย

แนวคิดภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงเปนกระบวนการท่ีมีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงเจตคติและสมมุติ

ฐานของสมาชิกในองคกร สรางความผูกพันในการเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค และกลยุทธท่ีสําคัญขององคกร ภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงเก่ียวของกับอิทธิพลของผูนําท่ีมีตอผูตาม แตอิทธิพลนั้นเปนการใหอํานาจแกผูตามใหกลับกลายเปนผูนําและผู ที ่ เ ปลี ่ย นแปลงหนวยง าน ในกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงองคกร

ดังนั้นสภาวการณเปลี่ยนแปลงจึงไดรับการมองวาเปนกระบวนการท่ีเปนองครวมและเก่ียวของกับการดําเนินการของผูนําในระดับตางๆ ในหนวยงานยอยขององคกร

ความหมายของผูนําการเปลี่ยนแปลงเบิรน (Burn. 1978) ไดใหความหมายของภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงไววา คือ กระบวนการ

ซึ่งท้ังผูนําและผูตามตางยกระดับท่ีสูงข้ึนท้ังแรงจูงใจและจริยธรรมซึ่งกันและกันโดยผูนําจะคนหา เพ่ือยกระดับความสํานึกของผูตามใหไปสูอุดมการณท่ีสูงสง

แบส (Bass. 1985) ใหความหมายวา ภาวะผูนํา หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลง ผูนําตองเปนผูเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานของผูตาม ตองไดผลเกินเปาหมายท่ีกําหนด ทัศนคติ ความเชื่อม่ันและความตองการของผูตามตองไดรับการเปลี่ยนแปลงจากระดับต่ําสูระดับท่ีสูงกวา

กริฟฟน (Griffin. 1996:504) ใหความหมายของคําวา ภาวะผูนํา หมายถึง การไมใชอิทธิพลบังคับกลุมหรือใหทําตามวัตถุประสงคขององคกร แตเปนการกระตุนพฤติกรรมของคนท่ีนําไปสูความสําเร็จของหนวยงาน

ดูบริน (Dubrin. 1998:2) ใหความหมายของคําวา ภาวะผูนํา หมายถึง ความสามารถท่ีจะสรางความเชื่อม่ันและใหการสนับสนุนบุคคลเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย

ดาฟท (Daft. 1999:5) ใหความหมายของคําวา ภาวะผูนํา หมายถึง ความสัมพันธท่ีมีอิทธิพลระหวางผูนําและผูตามซึ่งทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเพ่ือใหบรรลุเปาหมายรวมกัน

บัณฑิต แทนพิทักษ (2540:15-16) ใหความหมายของภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงวา หมายถึงภาวะผูนําของผูบริหารท่ีใชวิธีการตาง ๆ ในการยกระดับความตองการ ความตระหนักและความสํานึกของผูตาม ทําใหผูตามกาวพนจากความสนใจตนเองมาเปนการทํางานเพ่ือประโยชนสวนรวมของหนวยงานและมุงม่ันใชความพยายามอยางสูงในการทํางานเพ่ือใหบรรลุผลสําเร็จ

Page 27: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

36

สุดา ทัพสุวรรณ (2541:8) ใหความหมายของภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงวา หมายถึงลักษณะความสัมพันธระหวางผูนําและผูตาม ผูนําจะเนนใหผูตามเกิดความรูสึกเห็นความสําคัญและคุณคาของงานท่ีผลิตออกมา จูงใจใหผูตามสนใจทํางานเพ่ือหนวยงาน ตลอดจนเปลี่ยนแปลงระดับความตองการในผลงานของผูตามใหสูงข้ึน และใชความสามารถของตนเองตามศักยภาพท้ังหมดในการทํางาน

จากความหมายโดยสรุปกลาวไดวา ภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลง หมายถึง ระดับพฤติกรรมของผูบริหารท่ีแสดงใหเห็นในการจัดการหรือการทํางานท่ีเปนกระบวนการเปลี่ยนแปลง ความพยายามของผูรวมงานใหสูงข้ึนกวาความพยายามท่ีคาดหวัง เปนผลใหการปฏิบัติงานเกินความคาดหวัง พัฒนาความสามารถและศักยภาพไปสูระดับท่ีสูงข้ึนโดยผูบริหารแสดงบทบาททําใหผูรวมงานไววางใจตระหนักรูภารกิจและวิสัยทัศน มีความจงรักภักดีและเปนขอจูงใจใหผูรวมงานมองการณไกลกวาความสนใจของตน ซึ่งจะนําไปสูประโยชนขององคกร

ทฤษฎีภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลง (Transformational Leadership)เบอรน (ประเสริฐ สมพงษธรรม. 2538 : 50-51; อางอิงจาก Burns.1978 Leadership.)

กลาววา ภาวะผูนําเปนปฏิสัมพันธของบุคคลท่ีมีความแตกตางกันในดานอํานาจ ระดับแรงจูงใจ และทักษะเพ่ือไปสูจุดมุงหมายรวมกัน ซึ่งเกิดไดใน 3 ลักษณะ คือ

1. ภาวะผูนําแบบแลกเปลี่ยน (Transactional Leadership) เปนปฏิสัมพันธท่ีผูนําติดตอกับผูตามเพ่ือแลกเปลี่ยนผลประโยชนซึ่งกันและกัน ผูนําจะใชรางวัลเพ่ือตอบสนองความตองการและเพ่ือแลกเปลี่ยนกับความสําเร็จในการทํางาน ถือวาผูนําและผูตามมีความตองการอยูในระดับข้ันแรกตามทฤษฎีความตองการลําดับข้ันของมาสโลว (Maslow’s Need Hierarchy Theory)

2. ภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลง (Transformational Leadership) ผูนําและผูตามมีปฏิสัมพันธกันกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพท้ังสองฝาย คือเปลี่ยนผูตามไปเปนผูนําการเปลี่ยนแปลงและเปลี่ยนผูนําการเปลี่ยนแปลงไปเปนผูนําแบบจริยธรรม กลาวคือ ผูนําการเปลี่ยนแปลงจะตระหนักถึงความตองการของผูตามและจะกระตุนตามใหเกิดความสํานึกและยกระดับความตองการของผูตามใหสูงข้ึนตามลําดับข้ันความตองการของมาสโลวและทําใหผูตามเกิดจิตสํานึกของอุดมการณ ยึดถือคานิยมเชิงจริยธรรม เชน อิสรภาพ ความยุติธรรม ความเสมอภาค สันติภาพและสิทธิมนุษยชน

3. ภาวะผูนําแบบจริยธรรม (Moral Leadership) ผูนําการเปลี่ยนแปลงจะเปลี่ยนเปนผูนําแบบจริยธรรมอยางแทจริงเม่ือไดยกระดับความประพฤติและความปรารถนาเชิงจริยธรรมของผูนําและผูตามใหสูงข้ึน กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงท้ังสองฝาย สรางจิตสํานึกใหผูตามเกิดความตองการในระดับข้ันท่ีสูงกวาเดิมตามลําดับข้ันความตองการของมาสโลว หรือระดับการพัฒนาจริยธรรมของโคลเบิรกแลวจึงดําเนินการเปลี่ยนสภาพทําใหผูนําและผูตามไปสูจุดมุงหมายท่ีสูงข้ึน

ผูนําท้ังสามลักษณะตามทฤษฎีของเบอรน มีลักษณะเปนแกนตอเนื่อง ภาวะผูนําแบบแลกเปลี่ยนอยูปลายสุดของแกน ซึ่งตรงกันขามกับภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงซึ่งมุงเปลี่ยนสภาพไปสูภาวะผูนําแบบจริยธรรม

Page 28: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

37

คุณลักษณะของผูนําการเปลี่ยนแปลงทิชชีและดีเวนนา (เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ.2536: 62; อางอิงจาก Tichy & Devanna.

1986. Training and Development. P.19-32) ไดนําเสนอคุณลักษณะของผูนําการเปลี่ยนแปลงดังนี้1. เปนผูนําการเปลี่ยนแปลง จะเปลี่ยนองคกรท่ีตนเองรับผิดชอบไปสูเปาหมายท่ีดีกวา

คลายกับผูฝกสอนหรือโคชนักกีฬาท่ีตองรับผิดชอบทีมท่ีไมเคยชนะใครเลย ตองมีการเปลี่ยนเปาหมายเพ่ือความเปนผูชนะ และตองสรางแรงบันดาลใจใหลูกทีมเลนใหดีท่ีสุดเพ่ือชัยชนะ

2. เปนคนกลาและเปดเผย เปนคนท่ีตองเสี่ยงแตมีความสุขและมีจุดยืนของตนเอง กลาเผชิญกับความจริง กลาเปดเผยความจริง

3. เชื่อม่ันในคนอ่ืน ผูนําการเปลี่ยนแปลงไมใชเผด็จการแตมีอํานาจ และสนใจคนอ่ืน ๆ มีการทํางานโดยมอบอํานาจใหคนอ่ืนทําโดยเชื่อวาคนอ่ืนก็มีความสามารถ

4. ใชคุณคาเปนแรงผลักดัน ผูนําการเปลี่ยนแปลงนี้จะชี้นําใหผูตามตระหนักถึงคุณคาของเปาหมาย และสรางแรงผลักดันในการปฏิบัติงานเพ่ือบรรลุเปาหมายท่ีมีคุณคา

5. เปนผูเรียนรูตลอดชีวิต ผูนําการเปลี่ยนแปลงนี้จะนึกถึงสิ่งท่ีตนเองเคยทําผิดพลาดในฐานะท่ีเปนบทเรียน และจะพยายามเรียนรูสิ่งใหม ๆ เพ่ือพัฒนาตนเองตลอดเวลา

6. มีความสามารถท่ีจะเผชิญกับความสลับซับซอน ความคลุมเครือและความไมแนนอน ผูนําการเปลี่ยนแปลงจะมีความสามารถในการเผชิญปญหาท่ีเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ

7. เปนผูมองการณไกล ผูนําการเปลี่ยนแปลงจะมีความสามารถในการมองการณไกลสามารถท่ีจะนําความหวัง ความฝนมาทําใหเปนความจริงได

องคประกอบของภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลง (Transformational Leadership) มี 4องคประกอบ ซึ่งมีความสัมพันธ มีความเฉพาะเจาะจงและความสําคัญท่ีแตกตางกัน ซึ่งมีรายละเอียดเฉพาะของแตละองคประกอบดังนี้

1. การมีอิทธิพลหรือผูนําท่ีมีอุดมการณ (Idealized Influence or Leadership : II or CL)หมายถึง การท่ีผูนําประพฤติตัวเปนแบบอยางหรือเปนโมเดลสําหรับผูตาม ผูนําจะเปนท่ียกยอง เคารพนับถือ ศรัทธา ไววางใจและทําใหผูตามเกิดความภาคภูมิใจเม่ือไดรวมงานกัน ผูตามจะพยายามประพฤติปฏิบัติเหมือนกับผูนําและตองการเลียนแบบผูนําของเขา สิ่งท่ีผูนําตองปฏิบัติเพ่ือบรรลุถึงคุณลักษณะนี้คือ ผูนําจะตองมีวิสัยทัศนและสามารถถายทอดไปยังผูตาม สามารถควบคุมอารมณไดในสถานการณวิกฤต ผูนําเปนผูท่ีไวใจไดวาจะทําในสิ่งท่ีถูกตอง ผูนําจะเปนผูท่ีมีศีลธรรมและมีจริยธรรมสูง ผูนําจะหลีกเลี่ยงท่ีจะใชอํานาจเพ่ือประโยชนสวนตน แตจะประพฤติตนเพ่ือใหเกิดประโยชนแกผูอ่ืนและเพ่ือประโยชนของกลุม ผูนําจะแสดงใหเห็นถึงความเฉลียวฉลาด ความมีสมรรถภาพ ความตั้งใจ ความเชื่อม่ันในตนเอง ความแนวแนในอุดมการณ ความเชื่อและคานิยมของเขา ผูนําจะเสริมความภาคภูมิใจความจงรักภักดี และความม่ันใจของผูตาม และทําใหผูตามมีความเปนพวกเดียวกับผูนํา โดยอาศัยวิสัยทัศนและการมีจุดประสงครวมกัน ผูนําแสดงความม่ันใจชวยสรางความรูสึกเปนหนึ่งเดียวกันเพ่ือการบรรลุเปาหมายท่ีตองการ ผูตามจะเลียนแบบผูนําและพฤติกรรมของผูนําจากการสรางความม่ันใจใน

Page 29: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

38

ตนเอง ประสิทธิภาพและความเคารพในตนเอง ผูนําการเปลี่ยนแปลงจึงรักษาอิทธิพลของตนในการบรรลุเปาหมายและปฏิบัติภาระหนาท่ีขององคกร

2. การสรางแรงบันดาลใจ (Inspiration Motivation : IM ) หมายถึง การท่ีผูนําจะประพฤติในทางท่ีจูงใจใหเกิดแรงบันดาลใจกับผูตาม โดยการสรางแรงจูงใจภายใน การใหความหมายและทาทายในเรื่องงานของผูตาม ผูนําจะกระตุนจิตวิญญาณของทีม (Team Spirit) ใหมีชีวิตชีวา มีการแสดงออกซึ่งความกระตือรือรน โดยการสรางเจตคติท่ีดีและการคิดในแงบวก ผูนําจะทําใหผูตามสัมผัสกับภาพท่ีงดงามของอนาคต ผูนําจะสรางและสื่อความหวังท่ีผูนําตองการอยางชัดเจน ผูนําจะแสดงการอุทิศตัวหรือความผูกพันตอเปาหมายและวิสัยทัศนรวมกัน ผูนําแสดงความเชื่อม่ันและแสดงใหเห็นความตั้งใจอยางแนวแนวาสามารถบรรลุเปาหมายได ผูนําจะชวยใหผูตามมองขามผลประโยชนของตนเพ่ือวิสัยทัศนและภารกิจขององคกร ผูนําจะชวยใหผูตามพัฒนาความผูกพันของตนตอเปาหมายระยะยาว และบอยครั้งพบวาการสรางแรงบันดาลใจนี้เกิดข้ึนผานการคํานึงถึงความเปนปจเจกบุคคล และการกระตุนทางปญญา โดยการคํานึงถึงความเปนปจเจกบุคคลทําใหผูตามรูสึกเหมือนตนเองมีคุณคา และกระตุนใหพวกเขาสามารถจัดการกับปญหาท่ีตนเองเผชิญได สวนการกระตุนทางปญญาชวยใหผูตามจัดการกับอุปสรรคของตนเองและเสริมความคิดริเริ่มสรางสรรค

3. การกระตุนทางปญญา (Intellectual Stimulation : IS) หมายถึง การท่ีผูนํามีการกระตุนผูตามใหตระหนักถึงปญหาตางๆท่ีเกิดข้ึนในหนวยงาน ทําใหผูตามมีความตองการหาแนวทางใหมมาแกปญหาในหนวยงาน เพ่ือหาขอสรุปใหมท่ีดีกวาเดิม เพ่ือทําใหเกิดสิ่งใหมและสรางสรรค โดยผูนํามีการคิดและแกปญหาอยางเปนระบบ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีการตั้งสมมติฐาน การเปลี่ยนกรอบ(Reframing) การมองปญหา และการเผชิญกับสถานการณเกาๆ ดวยวิถีทางแบบใหมๆ มีการจูงใจและสนับสนุนความคิดริเริ่มใหมๆในการพิจารณาปญหาและการหาคําตอบของปญหา มีการใหกําลังใจผูตามใหพยายามหาทางแกปญหาดวยวิธีใหมๆ ผูนํามีการกระตุนใหผูตามแสดงความคิดและเหตุผล และไมวิจารณความคิดของผูตาม แมวามันจะแตกตางไปจากความคิดของผูนํา ผูนําทําใหผูตามรูสึกวาปญหาท่ีเกิดข้ึนเปนสิ่งท่ีทาทายและเปนโอกาสท่ีดีท่ีจะแกปญหารวมกัน โดยผูนําจะสรางความเชื่อม่ันใหผูตามวาปญหาทุกอยางตองมีวิธีแกไข แมบางปญหาจะมีอุปสรรคมากมาย ผูนําจะพิสูจนใหเห็นวาสามารถเอาชนะอุปสรรคทุกอยางได จากความรวมมือรวมใจในการแกปญหาของผูรวมงานทุกคน ผูตามจะไดรับการกระตุนใหตั้งคําถามตอคํานิยมของตนเอง ความเชื่อและประเพณี การกระตุนทางปญญาเปนสวนสําคัญของการพัฒนาความสามารถของผูตามในการท่ีจะตระหนักและแกไขปญหาดวยตนเอง

4. การคํานึงถึงความเปนปจเจกบุคคล (Individualized Consideration :IC) ผูนําจะมีความสัมพันธเก่ียวของกับบุคคลในฐานะเปนผูนําในการดูแลเอาใจใสผูตามเปนรายบุคคล และทําใหผูตามรูสึกมีคุณคาและมีความสําคัญ ผูนําจะเปนโคช (Coach) และเปนท่ีปรึกษา (Advisor) ของผูตามแตละคนเพ่ือการพัฒนาผูตาม ผูนําจะเอาใจใสเปนพิเศษในความตองการของปจเจกบุคคล เพ่ือความสัมฤทธิ์และเติบโตของแตละคน ผูนําจะพัฒนาศักยภาพของผูตามและเพ่ือนรวมงานใหสูงข้ึน นอกจากนี้ผูนําจะมีการปฏิบัติตอผูตาม โดยการใหโอกาสในการเรียนรูสิ่งใหมๆ สรางบรรยากาศของการใหการสนับสนุน

Page 30: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

39

คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลในดานความจําเปนและความตองการ การประพฤติของผูนําแสดงใหเห็นวา เขาใจและยอมรับความแตกตางระหวางบุคคล เชน บางคนไดรับกําลังใจมากกวา บางคนไดรับอํานาจการตัดสินใจดวยตนเองมากกวา บางคนมีมาตรฐานท่ีเครงครัดกวา บางคนมีโครงสรางงานท่ีมากกวา ผูนํามีการสงเสริมการสื่อสารสองทาง และมีการจัดการดวยการเดินดูรอบๆ (Managementby walking around) มีปฏิสัมพันธกับผูตามเปนการสวนตัว ผูนําสนใจในความกังวลของแตละบุคคลเห็นปจเจกบุคคลเปนบุคคลท้ังคน (As a Whole Person) มากกวาเปนพนักงานหรือเปนเพียงปจจัยการผลิต ผูนําจะมีการฟงอยางมีประสิทธิภาพ มีการเอาใจเขามาใสใจเรา (Empathy) ผูนําจะมีการมอบหมายงานเพ่ือเปนเครื่องมือในการพัฒนาผูตาม เปดโอกาสใหผูตามไดใชความสามารถพิเศษอยางเต็มท่ี และเรียนรูสิ่งใหมๆท่ีทาทายความสามารถ ผูนําจะดูแลผูตามวาตองการคําแนะนํา การสนับสนุนและการชวยใหกาวหนาในการทํางานท่ีรับผิดชอบอยูหรือไม โดยผูตามจะไมรูสึกวาเขากําลังถูกตรวจสอบ

จะเห็นไดวา ภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงเปนกระบวนการท่ีผูนําพยายามเปลี่ยนแปลงผูตามใหปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ เกิดความไววางใจ เกิดความจงรักภักดีและเชื่อถือในตัวผูนําเกิดความคลอยตาม พยายามแกปญหาในการปฏิบัติ เกิดความม่ันใจในตนเอง มีความรับผิดชอบและยอมอุทิศตนเพ่ือองคกร ดังนั้นผูบริหารหรือผูนําการเปลี่ยนแปลงท่ีดี จึงตองมีความสามารถในการจูงใจคนใหทําสิ่งตาง ๆ ดวยความเต็มใจ ทําใหผูคนรูสึกอยากจะติดตามไปทุกหนทุกแหง ขณะเดียวกันก็ตองสงเสริมลูกนองใหไดแสดงออกถึงความรูสึก ความสามารถ ใหมีโอกาสพัฒนาตนใหดีข้ึนกวาท่ีเปนอยู ตองสรางสภาพแวดลอมและบรรยากาศในการทํางานท่ีอบอุน ซึ่งจะสงผลใหลูกนองเกิดความรักความผูกพันตอองคกร

การนิเทศแบบกัลยาณมิตรการนิเทศการศึกษา เปนกิจกรรมหนึ่งท่ีชวยเหลือและสนับสนุนการปฏิบัติงานของครูและ

ผูบริหาร เพ่ือใหการปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพและคุณภาพสูงสุด รูปแบบการนิเทศท่ีนิยมใชกันไดแกการนิเทศทางตรง การนิเทศทางออมผานสื่อ การนิเทศเปนกลุม/รายบุคคล การนิเทศแบบคลินิก แบบรวมมือ แบบกํากับติดตามเปนตน สวนกิจกรรมการนิเทศ ไดแก การตรวจเอกสาร การปฏิบัติงานของครูการใหคําปรึกษาแนะนํา การประชุมปฏิบัติการ การสังเกตการสอน การเยี่ยมชั้นเรียน เปนตน(ธเนศ ขําเกิด, 2554: 31)

การนิเทศในระยะแรกใชการนิเทศจากบุคคลภายนอก เชน ผูเชี่ยวชาญ/ศึกษานิเทศก เปนตนลักษณะการนิเทศจะอยูในรูปแบบของการตรวจเอกสารท่ีเก่ียวของกับงานวิชาการ หรือตรวจการปฏิบัติงานของครู มุงเนนท่ีความพรอมความถูกตอง ความเปนระเบียบ และเปนการนิเทศท่ีไมตอเนื่อง(จิรภัทร เหมือนทอง; 2555: 176) การนิเทศในลักษณะนี้กอใหเกิดความไมเขาใจกันระหวางผูนิเทศและผูรับการนิเทศ ผูนิเทศไมไดรับความไววางใจ ถูกมองวาเปนการไปจับผิด มากกวาการชวยเหลือตอมาเริ่มเนนใหมีการนิเทศภายในโรงเรียน เพ่ือใหทันตอการแกปญหาไดอยางตรงจุดและตอเนื่องมากข้ึน

Page 31: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

40

ผูบริหารจึงมีบทบาทสําคัญในการนิเทศภายในเนนการใหความชวยเหลือ แนะนํา สรางความเขาใจความสัมพันธท่ีดีระหวางผูนิเทศ และผูรับการนิเทศ

ธเนศ ขําเกิด (2554:30:31) ไดเสนอหลักการในการนิเทศไวดังนี้1.หลักการสรางมนุษยสัมพันธ สรางความตระหนัก ความเชื่อถือศรัทธา ความรวมมือกับครู

และบุคลากรทางการศึกษา ในการปรับปรุงคุณภาพการศึกษาโดยคํานึงถึงบริบทของสถานศึกษา ความแตกตางระหวางบุคคลและความเปนประชาธิปไตย

2. หลักความเปนระบบของกระบวนการนิเทศ โดยกระบวนการนิเทศตองเปนไปอยางมีระบบโดยมีการประเมินความตองการจําเปนในนิเทศ การวางแผนการนิเทศ การพัฒนานวัตกรรมในการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การติดตามประเมินผลและการปรับปรุงพัฒนาการนิเทศเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาใหสูงข้ึนอยางตอเนื่อง

3. หลักการพัฒนาการนิเทศโดยใชการวิจัยเปนฐานดวยการวิเคราะห วิจัย สงเสริมการวิจัยและประยุกตผลการวิเคราะหวิจัยไปใชในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ท่ีมุงสรางวัฒนธรรมคุณภาพใหเกิดข้ึนในองคกรอยางยั่งยืน

4. หลักการใชเทคนิคท่ีหลากหลาย และมีความเหมาะสม สอดคลองกับปญหาความตองการจําเปนสภาพแวดลอม และกลุมเปาหมาย เชนการสอนแนะ (coaching) การพาทํา การฝงตัวการแลกเปลี่ยนเรียนรู การรวมมือ การนิเทศแบบคลินิก การนิเทศภายนอก การประสานการนิเทศภายใน เปนตน โดยคํานึงถึงการบรรลุมาตรฐานคุณภาพการศึกษา และความเจริญกาวหนาของครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนสําคัญ

5. หลักการสรางเครือขายและทีมการนิเทศการศึกษาใหเกิดการผนึกกําลังประสานรวมของบุคคล องคกร และแหลงเรียนรูตางๆ ตลอดจนพัฒนาทีมงานนิเทศใหเขมแข็ง เพ่ือขับเคลื่อนกลไกการนิเทศใหท่ัวถึง ครอบคลุม และเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลท่ีสูงข้ึน

นอกเหนือจากหลักการนิเทศดังกลาวแลว ปจจุบันยังเนนการนิเทศแบบใหความชวยเหลือแนะนํา ตลอดจนการสรางความสัมพันธท่ีดีระหวางผูนิเทศ และผูรับการนิเทศท่ีเรียกวา กัลยาณมิตรนิเทศ

สุมน อมรวิวัฒน (2546) ไดใหปรัชญาและแนวคิดในการพัฒนาครูและครูเครือขายโดยใชกระบวนการกัลยาณมิตรนิเทศ วา กระบวนการกัลยาณมิตร คือ กระบวนการประสานสัมพันธระหวาบุคคลเพ่ือจุดหมายสองประการคือ 1) ชี้ทางบรรเทาทุกข 2) ชี้สุขเกษมศานต โดยทุกคนตางมีเมตตาธรรมพรอมจะชี้แนะและชวยเหลือซึ่งกันและกัน การนํากระบวนการกัลยาณมิตรมาใชในการพัฒนาครูและการปฏิรูปการศึกษามีปจจัยหลักสี่ประการท่ีเก้ือหนุนใหทุกข้ันตอนดําเนินไปดวยดี ไดแก 1) องคความรู 2) แรงหนุนจากตนสังกัด 3) ผูบริหารทุกระดับ และ 4) บุคลากรท้ังโรงเรียน สําหรับกระบวนการกัลยาณมิตรนิเทศ มีองคประกอบหลักสี่ประการ ไดแก

1. ใหใจ คือการสรางศรัทธาเปนจุดเริ่มตนท่ีสําคัญในการพัฒนาครู ผูใหการอบรมจึงพยายามสรางศรัทธาและความสัมพันธกับเพ่ือนครแูจงความมุงหมาย จัดเวลา และกําหนดแผนงาน

Page 32: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

41

2. รวมใจคือผูใหและผูรับการฝกอบรมรวมใจกันทํางานเปนทีมโดยการศึกษาปญหารวมวางแผนรวมคิดรวมทํามีการแนะนําสาธิตใหแบบอยางฝกทําแผนการสอนฝกสรางสื่อการเรียนการสอนทําวิจัยในชั้นเรียนและเรียนรูเรื่องการสัดและประเมินผล

3. ตั้งใจ คือทุกคนมีความแนวแนท่ีจะแกไขในสิ่งผิดและปรับปรุงเพ่ือสรางสรรคคุณภาพของการจัดการเรียนการสอนโดยมีการทดลองปฏิบัติ ปรึกษาหารือแลกเปลี่ยนเรียนรูติดตอสื่อสารและเยี่ยมเยียนกันอยางสมํ่าเสมอเพ่ือชวยกันแกปญหาและใหกําลังใจซึ่งกันและกัน

4. เปดใจ คือทุกคนพรอมยอมรับการพัฒนาตนเองรับทีจะทบทวนผลการวัดและประเมินผลและขอเสนอแนะ อาทิ การประเมินตนเอง การประเมินผลงาน การประเมินโดยกัลยาณมิตรและการประเมินพัฒนาการเรียนรูซึ่งจะประเมินอยางตรงไปตรงมาและยอมรับผลการประเมินเพ่ือปรับปรุงพัฒนาตอไป

นอกจากนี้ สุมน อมรวิวัฒน (2546) ยังไดกลาวถึงการนิเทศแบบกัลยาณมิตรวามีลักษณะสําคัญ5 อยาง ดังนี้

1. กัลยาณมิตรนิเทศเนนการนิเทศคน ผูบริหารอาจจัดกิจกรรมสนทนากลุมกับครูหรือนักเรียนท้ังแบบเปนทางการและไมเปนทางการ ในชวงเชากอนเรียนหรือเย็นหลังเลิกเรียนของวันใดวันหนึ่งในแตละสัปดาหตามแตจะตกลงกัน ซึ่งจะชวยใหเกิดความเขาใจอันดีตอกันและรวมมือกันแกปญหาไดดีกวาการเขียนเสนอความคิดเห็นในกระดาษ

2. กัลยาณมิตรนิเทศ เปนกระบวนการของการใหใจ และรวมใจ สิ่งสําคัญคือ การทําใหครูในโรงเรียนมาทํางานดวยความสมัครใจ มากกวาจําใจจึงจะทําใหเกิดการรวมใจทํางานของครูในโรงเรียนและนําไปสูความสําเร็จในท่ีสุด

3. กัลยาณมิตรนิเทศตองเริ่มจากความศรัทธา ผูบริหารหรือผูนิเทศตองสรางศรัทธาความเชื่อม่ันใหเกิดกับครู สรางความไววางใจใหเกิดการยอมรับ สนับสนุนกัน เก้ือกูลกัน เม่ือครูมีศรัทธาเชื่อม่ันในผูบริหาร ผูนิเทศ การยอมรับในคําแนะนํา ชวยเหลือจะตามมา ตลอดจนพรอมท่ีจะเปลี่ยนแปลง

4. กัลยาณมิตรนิเทศแบบสรางสังคมแหงการเรียนรู ผูบริหารควรคนหาจุดเดน หรือขอดีของครูแตละคนในโรงเรียนสําหรับท่ีจะนํามาแลกเปลี่ยนเรียนรู เปดเวทีใหครูมีโอกาสนําเสนอขอมูลความสําเร็จ ความคิดของตนเองเพ่ือแบงปนและสรางความม่ันใจใหเกิดข้ึน การสื่อสารภายในหนวยงานอยางสมํ่าเสมอท้ังท่ีเปนทางการและไมเปนทางการชวยใหโรงเรียนมีการเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลาโดยเฉพาะดานขาวสารขอมูลเกิดเปนสังคมแหงการเรียนรู

5. กระบวนการกัลยาณมิตรนิเทศมาจากฐานปญญาธรรม เมตตาธรรม และความเปนจริงในชีวิต ดังนี้

ฐานท่ี 1 คือ ปญญาธรรม คือฐานความรู ผูบริหารและครูตองกระตือรือรนในการแสวงหาความรู โดยเฉพาะผูบริหารควรทําคนเปนแบบอยาง ใหการสนับสนุน อํานวยความสะดวก เชน มีปาย

Page 33: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

42

กระดานขาวใหความรูครู จัดเครื่องคอมพิวเตอร มีระบบอินเตอรเน็ต (Internet) ใหใช เปนตน ครูเกิดการเรียนรูเพ่ิมข้ึน เปนครูท่ีมีความรูใหม ๆ ตลอดเวลา

ฐานท่ี 2 คือ เมตตาธรรม คือฐานความรัก ผูบริหารตองเมตตา ใหความรักกับทุกคนโดยเริ่มจากตนเอง เชน ไมโหมงานอยูคนเดียว พยายามกระจายงาน ทําตนใหมีชีวิตชีวา สรางมนุษยสัมพันธท่ีดีกับครู

ฐานท่ี 3 คือ ความเปนจริงในชีวิต คือการปรับตัวในการทํางานในวัฒนธรรมเดียวกันผูบริหารตองเขาใจวัฒนธรรมการทํางานท้ังของบุคคลและวัฒนธรรมองคกร รวมท้ังตองสรางวัฒนธรรมท่ีดีใหเกิดข้ึนภายในหนวยงาน

แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบความหมายของรูปแบบ“รูปแบบ (Model)” เปนเครื่องมือทางความคิดท่ีใชในการสืบสอบหาคําตอบ หรือ ความรูความ

เขาใจในปรากฏการณท้ังหลาย ซึ่งสรางข้ึนจากความคิด ประสบการณ หรือทฤษฎีและหลักการตางๆลักษณะท่ีสําคัญของรูปแบบคือ จะตองนําไปสูการทํานายผล (Prediction) ท่ีสามารถพิสูจนไดโครงสรางของรูปแบบจะตองมีความสัมพันธเชิงสาเหตุท่ีสามารถอธิบายปรากฏการณได และ สามารถสรางความคิดรวบยอด (Concept) ได (ทิศนา แขมมณี. 2545: 218-221)

รูปแบบ มีองคประกอบดังตอไปนี้1) มีปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิด หรือความเชื่อ ท่ีเปนพ้ืนฐานหรือเปนหลักของรูปแบบ

การประเมินนั้นๆ2) มีการบรรยายและอธิบายสภาพหรือลักษณะของการประเมินหลักการท่ียึดถือ3) มีการจัดระบบ คือ มีการจัดองคประกอบและความสัมพันธขององคประกอบของระบบให

สามารถนําผูเรียนไปสูเปาหมายของระบบหรือกระบวนการนั้นๆ4) มีการอธิบายหรือใหขอมูลเก่ียวกับวิธีดําเนินการอันจะชวยใหกระบวนการนั้น ๆ เกิด

ประสิทธิภาพสูงสุดประเภทของรูปแบบรูปแบบท่ีใชกันอยูโดยท่ัวไปมี 5 แบบ หรือ 5 ลักษณะ คือ1) รูปแบบเชิงเปรียบเทียบ (Analogue Model) ไดแก ความคิดท่ีแสดงออกในลักษณะของการ

เปรียบเทียบสิ่งตางๆ อยางนอย 2 สิ่งข้ึนไป รูปแบบลักษณะนี้ใชกันมากทางดานวิทยาศาสตรกายภาพสังคมศาสตรและพฤติกรรมศาสตร

2) รูปแบบเชิงภาษา (Semantic Model) ไดแก ความคิดท่ีแสดงออกผานทางการใชภาษารูปแบบลักษณะนี้ใชกันมากทางดานศึกษาศาสตร

3) รูปแบบเชิงคณิตศาสตร (Mathematical Model) ไดแก ความคิดท่ีแสดงออกผานทางสูตรคณิตศาสตร ซึ่งสวนมากจะเกิดข้ึนหลังจากไดรูปแบบเชิงภาษาแลว

Page 34: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

43

4) รูปแบบเชิงแผนผัง (Schematic Model) ไดแก ความคิดท่ีแสดงออกผานทางแผนผังแผนภาพ ไดอะแกรม กราฟ เปนตน

5) รูปแบบเชิงสาเหตุ (Causal Model) ไดแก ความคิดท่ีแสดงใหเห็นความสัมพันธเชิงสาเหตุระหวางตัวแปรตางๆ ของสภาพการณหรือปญหาใดๆ มักใชในดานศึกษาศาสตร

การสอนเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดทักษะการคิด หมายถึง ความสามารถยอยๆ ของการคิดในลักษณะตางๆ ท่ีเปนองคประกอบ

ของกระบวนการคิดท่ีซับซอน ทักษะการคิดจัดเปนประเภทใหญ ๆ ได 2 ประเภท1. ทักษะการคิดพ้ืนฐาน (basic skills) ท่ีเปนพ้ืนฐานของการคิดในระดับสูง ประกอบดวย

1.1 ทักษะการสื่อความหมาย (communication skills) หมายถึง ทักษะการรับสารท่ีแสดงถึงความคิดของผูอ่ืนเขามาเพ่ือรับรู ตีความ จดจํา ระลึกเพ่ือนํามาใชเรียบเรียง และสื่อสารท่ีตองการสื่อถึงผูอ่ืนในรูปของภาษาตาง ๆ ท่ีเปนขอความ คําพูด ศิลปะ ดนตรี สมการทางคณิตศาสตรเปนตน ทักษะยอยของการสื่อความหมาย ไดแก การฟง การอาน การรับรู การจํา การคงสิ่งท่ีเรียน การบอกขอความรูดวยตนเองหรือจากตัวเลือกท่ีกําหนดให การบรรยาย การอธิบาย การพูด การเขียนเปนตน

1.2 ทักษะการคิดท่ีเปนแกนหรือทักษะการคิดท่ัวไป (core หรือ general thinking skills)หมายถึง ทักษะการคิดท่ีจําเปนตองใชในการดํารงชีวิตประจําวัน และเปนพ้ืนฐานของการคิดข้ันสูงท่ีมีความสลับซับซอนสําหรับการเรียนรูเนื้อหาวิชาการตาง ๆ และการใชชีวิตอยางมีคุณภาพ ในการวิจัยครั้งนี้ ทักษะการคิดท่ีโรงเรียนกลุมเปาหมายตองการพัฒนา คือ ทักษะการคิดท่ัวไป ซึ่งมีทักษะยอยดังนี้

1.2.1 การสังเกต (observing) เปนการรับรูสิ่งหรือปรากฏการณตาง ๆ แลวบอกถึงคุณสมบัติ องคประกอบ รายละเอียดและจุดนาสนใจของสิ่งนั้น

1.2.2 การสํารวจ (exploring) เปนการลงมือทํากิจกรรมหรือมีปฏิสัมพันธกับสิ่งท่ีตองการเรียนรู โดยใชประสาทสัมผัสท้ัง 5

1.2.3 การตั้งคําถาม (questioning) เปนการสอบถามเปรียบเทียบสิ่งท่ีรับรูใหมกับความรูเดิมท่ีมีอยูเพ่ือใหไดขอมูลในรายละเอียดเพ่ิมเติมหรือตรวจสอบความถูกตอง ชัดเจน หรือเปนการคาดคะเนปรากฏการณท่ีเกิดข้ึน

1.2.4 การเก็บรวบรวมขอมูล (information) เปนการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีตองการจากแหลงเรียนรูตาง ๆ ดวยวิธีการท่ีหลากหลาย และการตรวจสอบความเพียงพอของขอมูล เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคท่ีตองการ

1.2.5 การระบุ (identifying) เปนการบอกถึงคุณสมบัติ ลักษณะหรือระดับของการเปนสมาชิกในมิติตาง ๆ ท่ีไดสํารวจ ทบทวนและตรวจสอบ

1.2.6 การจําแนกแยกแยะ (discriminating) เปนการกําหนดมิติท่ีแยกแยะระหวางสิ่ง2 สิ่ง การเทียบระดับ และการสรุปความเหมือนหรือไมเหมือนระหวางของสองสิ่ง

Page 35: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

44

1.2.7 การจัดลําดับ (ordering) เปนการกําหนดมิติระดับและทิศทางของการจัดลําดับใหกับสิ่งตางๆ

1.2.8 การเปรียบเทียบ (comparing) เปนการกําหนดมิติท่ีจะเปรียบเทียบระหวางสิ่ง2 สิ่งใหอยูบนพ้ืนฐานเดียวกันวาเทากันหรือแตกตางกันในทางมากหรือนอยกวากัน

1.2.9 การจัดหมวดหมู (classifying) เปนการนําสิ่งตาง ๆ ท่ีกําหนดจําแนกไปตามมิติและระดับท่ีกําหนดไว เพ่ือใหเกิดเปนหมวดหมูท่ีมีคุณสมบัติตามท่ีตองการ

1.2.10 การสรุปอางอิง (inferring) เปนการจัดระบบขอมูลใหมสําหรับการเปรียบเทียบกับขอมูลเดิม โดยใชเหตุผลความรูท่ีมีอยูเดิมในการอธิบายสวนท่ียังไมรูของขอมูลใหม

1.2.11 การแปล (translating) เปนการเรียบเรียงสาระความรูในรูปแบบใหมท่ีตางไปจากเดิม แตยังคงความหมายเดิมไว เชน การแปลความจากภาษาหนึ่งไปยังอีกภาษาหนึ่ง

1.2.12 การตีความ (interpreting) แยกไดเปน 3 ระดับ คือระดับ1) การตีความเพ่ือระบุถึงสิ่งท่ีผูสื่อไมไดระบุโดยตรง แตอาศัยหลักเหตุผล

ความรูเก่ียวกับตัวผูสื่อ ลักษณะของสาร บริบทของสาร เปนตน2) ระดับท่ี 2 การตีความเพ่ือหาความหมายท่ีแทจริงของสาร เจตนาของผูสื่อ

สาเหตุ ความเชื่อ แนวคิดของผูสื่อ โดยใชหลักเหตุผล ความรูเก่ียวกับผูสื่อ บริบทของสาร3) ระดับท่ี 3 การตีความเพ่ือสรางความรูใหม เปนการใชทฤษฎี แนวคิดในการ

อธิบายความเปนเหตุผลของขอมูลหรืออธิบายความสัมพันธระหวางขอมูลตาง ๆ ท่ีไดมา1.2.13 การเชื่อมโยง (connecting) มี 2 ระดับคือ

1) ระดับท่ี 1 การเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางสิ่ง 2 สิ่ง ในมิติตาง ๆ ท่ีมีรวมกัน

2) ระดับท่ี 2 การเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางโครงสรางความรูเดิมกับสิ่งท่ีกําหนดใหใหม เปนการระบุ เปรียบเทียบมิติ ตรวจสอบ และระบุลักษณะความสัมพันธของสิ่งท่ีกําหนดใหใหมกับโครงสรางความรูเดิมในระดับและมิติท่ีสัมพันธกัน

1.2.14 การขยายความ(elaborating) เปนการระบุลักษณะหรือคุณสมบัติ ในรายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่งของมิติท่ีกําหนด

1.2.15 การให เหตุผล ( reasoning) เปนการพิจารณาให เหตุผลของการคิดปรากฏการณหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยสรุปจากความรูหรือประสบการณเดิม

1.2.16 การสรุปยอ (summarizing) เปนการนําเสนอความคิดท่ีไดเรียบเรียงข้ึนใหมจากขอมูลเดิมเฉพาะสวนท่ีเปนแกนอยางเปนระบบและมีความตอเนื่องสอดคลองกัน

2. ทักษะการคิดข้ันสูง (higher – ordered/ more complicated thinking skills) หมายถึงคุณลักษณะทางการคิดของสมองในการรับขอมูล (encode) เก็บรักษา (storage) และจัดกระทําขอมูล(operate) แลวนําขอมูลดังกลาวไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพท้ังปริมาณและคุณภาพความคิดระดับสูงมีดังนี้

Page 36: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

45

2.1 ความคิดวิจารณญาณ (critical thinking)2.2 ความคิดสรางสรรค (creative thinking)2.3 ความคิดแบบอภิปญญา (meta cognition)2.4 ความคิดแกปญหา (problem solving)2.5 การตัดสินใจ (decision making)2.6 การคิดแบบญาณปญญา (intuitive thinking)2.7 ความคิดในดานดี (positive thinking)สําหรับทักษะการคิดระดับสูง ประกอบดวยทักษะยอย ๆ ท่ีสําคัญดังนี้ การสรุปความ การ

ใหคําจํากัดความ การวิเคราะห การผสมผสานขอมูล การจัดระบบความคิด การสรางองคความรูใหมการกําหนดโครงสรางความรู การปรับปรุงโครงสราง การคนหาแบบแผน การหาความเชื่อพ้ืนฐานการคาดคะเนหรือตั้งสมมติฐาน การทดสอบสมมติฐาน การตั้งเกณฑ การพิสูจนความจริง และการประยุกตใช ดังนั้นจะเห็นไดวา ทักษะยอยของทักษะการคิดข้ันสูงสอดคลองจําเปนตองพัฒนาและสามารรถพัฒนาใหเกิดข้ึนในตัวผูเรียนตั้งแตระดับประถมศึกษากับแนวคิดในการจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ เชน การวิเคราะห การคาดคะเน การทดสอบสมมติฐาน การพิสูจนความจริง การสรุปความ การสรางองคความรูใหม และการประยุกตใช เปนตน

สําหรับการสอนเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดนั้นท่ีประชุม The Wingspread ConferenceCenter in Racine รัฐ Wisconsin ในป 1984 ไดสรุปวาแนวคิดในการพัฒนาคุณภาพการคิดมี 3แนวทาง (บุญเลี้ยง ทุมทอง, 2550, หนา 26) ไดแก

1. การสอนเพ่ือใหเกิดการคิดเปน การสอนแนวทางนี้ เปนการตั้งคามในชั้นเรียนเพ่ือกระตุนหรือสงเสริมใหผูเรียนคิดหาคําตอบ/หาทางนําเสนอความคิดหรือแกปญหา เปนการคิดวิเคราะหการเปรียบเทียบ การจัดหมวดหมู การสรุปความรู หรือการประยุกตใชความรู

2. การสอนความคิด เปนการสอนวิชาการคิดใหผูเรียนไดเขาใจหลักการและทักษะการคิดท่ีสามารถนําไปประยุกตใชในการเรียนวิชาตาง ๆ

3. การสอนกระบวนการคิด เปนการสอนท่ีเนนใหผูเรียนไดตระหนักถึงกระบวนการคิดของตนเองและบุคคลอ่ืน เพ่ือใหเกิดทักษะการคิดและความเขาใจเก่ียวกับกระบวนการคิดของตนเองในอดีต และการศึกษาเพ่ิมเติมใหไดแนวทางการแกปญหาในอนาคต การวางแผนเก่ียวกับการคิด การตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมของความคิดขอตน

ในงานวิจัยครั้งนี้ ทางโรงเรียนกลุมเปาหมายไดเลือกพัฒนาทักษะการคิดตามแนวทางท่ี 1 คือการสอนเพ่ือใหเกิดการคิดเปน สําหรับการสอนใหคิดเปนนั้นมีนักการศึกษาไดเสนอไวหลายแนวทางเชน การสอนแบบสืบเสาะ การสอนแบบวิทยาศาสตร การสอนโดยใชหมวก 6 ใบ การสอนโดยใชปญหาเปนฐาน การสอนโดยใชกรณีศึกษา และการสอนโดยใชโครงงาน ในงานวิจัยครั้งนี้กลุมเปาหมายไดเลือกการสอนโดยใชโครงงานในการพัฒนาทักษะการคิด

Page 37: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

46

การจัดการเรียนรูแบบโครงงานการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน เปนการจัดการเรียนรูท่ีนิยมใชกันแพรหลายในทุกระดับชั้น

โดยเชื่อวาเปนการจัดการเรียนรูท่ีสามารถชวยพัฒนาทักษะการคิดของผูเรียนไดเปนอยางดี การจัดการเรียนรูแบบโครงงานมีขอความรูท่ีเก่ียวของดังนี้

1. ความหมายของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานสุวิทย มูลคํา (2545, หนา 84) ไดใหความหมายของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานวา

เปนกระบวนการเรียนรูท่ีเปดโอกาสใหผูเรียนไดศึกษาคนควา และลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจความถนัด และความสามารถของตนเองดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรหรือกระบวนการอ่ืน ๆ ท่ีเปนระบบไปใชในการศึกษาหาคําตอบในเรื่องนั้นๆ ภายใตคําแนะนํา ใหคําปรึกษา และชวยเหลือจากผูสอนการทําโครงงานนี้สามารถทําไดทุกระดับชั้น ท้ังเปนรายบุคคลหรือเปนกลุมท้ังในและนอกชั้นเรียน

2. จุดมุงหมายของการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน มีดังนี้2.1 เพ่ือเปดโอกาสใหผูเรียนไดใชความรู ทักษะ และประสบการณของตนเองใน

การศึกษาคนควาดวยตนเองจากกิจกรรมและแหลงเรียนรูตาง ๆ2.2 เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด การเรียนรูดวยตนเอง การสื่อสาร การทํางานรวมกับผูอ่ืน2.3 เพ่ือใหผูเรียนมีเจตคติท่ีดีตอการเรียนรูดวยการลงมือปฏิบัติจริงดวยตนเอง

3. ประเภทของโครงงานโครงงานสามารถจําแนกประเภทไดหลายแนวตามเกณฑท่ีใช ไดแก 1) เกณฑผลของ

การศึกษาหรือลักษณะของกิจกรรม 2) เกณฑตามระดับใหคําปรึกษาของครู 3) เกณฑตามขนาดของโครงงานท่ีใหผูเรียนทํา สําหรับการวิจัยครั้งนี้กลุมเปาหมายเลือกใชการจัดทําโครงงานตามเกณฑผลของการศึกษาหรือลักษณะของกิจกรรม และโครงงานตามขนาดโครงงานท่ีใหนักเรียนทํา (เล็ก กลาง ใหญ)แบงไดเปน 4 กลุมดังนี้

3.1 โครงงานสํารวจ เปนการใหผูเรียนศึกษาสิ่งหรือสภาพท่ีเปนอยูในปจจุบันท่ีเก่ียวของกับประเด็นท่ีตองการศึกษา นําขอมูลมาจัดกระทําใหเปนระบบ หมวดหมู แลวนําเสนอในรูปแบบตาง ๆเชน ตาราง กราฟ แผนภูมิ เปนตน ตัวอยางเชน การสํารวจพืชสมุนไพรในชุมชน การสํารวจอาชีพในชุมชน การตรวจสอบคุณภาพนั้น อากาศในชุมชน เปนตน

3.2 โครงงานทดลอง เปนการใหผูเรียนศึกษาหาคําตอบหรือแนวทางในการแกปญหาตามข้ันตอนดังนี้ การกําหนดปญหา ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง รวบรวมขอมูล แปรผลและสรุปผลกรทดลอง ตัวอยางเชน การทํายากันยุงจากเปลือกสม การศึกษาเปรียบเทียบการใชวัสดุผสมในอาหารไก การศึกษาผลการใชสีจากเปลือกไมในการยอมผา

3.3 โครงงานสิ่งประดิษฐ เปนการใหผูเรียนไดนําทฤษฎีหรือหลักการทางวิทยาศาสตรหรือดานอ่ืนๆ มาสรางหรือประดิษฐเปนของเลน เครื่องมือ เครื่องใชหรืออุปกรณสําหรับใชสอย อาจเปนการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมท่ีมีอยูแลว หรือประดิษฐสื่อใหมหรือเสนอแบบจําลองทางความคิด

Page 38: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

47

เพ่ือแกปญหา ตัวอยางเชน การประดิษฐของเลนจากวัสดุในทองถ่ิน การสรางหุนยนต การประดิษฐกังหันลมสําหรับใชในงานเกษตร เปนตน

3.4 โครงงานสรางทฤษฎี เปนการใหนักศึกษาไดนําเสนอทฤษฎี หลักการหรือแนวคิดใหมๆ ซึ่งแตกตางจากแนวคิดเดิมท่ีมีผูเสนอไวหรือพัฒนาตอยอด มักเปนโครงงานทางคณิตศาสตรหรือวิทยาศาสตร ตัวอยางเชน การทําเกษตรทฤษฎีใหม การผลิตพลังงานทดแทน เปนตน

4. ข้ันตอนการจัดการเรียนรูแบบโครงงานในการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน ผูสอนตองออกแบบใหสอดคลองกับข้ันตอนการทํา

โครงงานดังนี้ข้ันตอนการทําโครงงาน ข้ันตอนการจัดการเรียนรู

1. การระบ/ุเลือกเรื่องท่ีจะศึกษา 1. ผูสอนใชกิจกรรม/สื่อในการสนทนา ตั้ ง คําถามเพ่ือใหผูเรียนระบุ เลือกเรื่องท่ีจะศึกษา

2. การวางแผน

2.1 การกําหนดจุดประสงค

2. ผูสอนใช คําถามใหผู เรียนวิ เคราะหแนวทางในการศึกษา

2.1 กําหนดประเด็นท่ีตองการศึกษาคนควาและใหคําแนะนําในการปรับประเด็นท่ีผูเรียนตองการศึกษา

2.2 การตั้งสมมติฐาน (ถามี)(คาดคะเนคําตอบ)

2.2 ผูสอนใชคําถามใหผูเรียนคาดเดาคําตอบลวงหนา

2.3 การกําหนดวิธีการศึกษาและแหลงเรียนรู

2.3 ผูสอนใชคําถามใหผูเรียนกําหนดแหลงเรียนรู วิธีการศึกษา ระยะเวลา การนําเสนอขอมูล

2.4 การจัดทําเคาโครงของโครงงาน 2.4 ผูสอนใหผูเรียนจัดทําโครงงานของโครงงาน โดยนําขอมูลจาก 2.1 – 2.3 มาใช อาจกําหนดเปนใบงานใหผูเรียนกรอกขอมูล

3. การลงมือศึกษาคนควาตามแผนและการบันทึกขอมูล

3. ผูสอนติดตามการดําเนินงานของผูเรียน เก็บรวบรวมขอมูลพฤติกรรมของผูเรียนใหความชวยเหลือ อํานวยความสะดวก

4. การเขียนรายงาน 4. ผูสอนใชใบงานท่ีกําหนดหัวขอในรายงานผลใหผูเรียนใชเปนแนวทางในการเขียนรายงาน

5. การนําเสนอผลงาน 5. ผู สอนให คําแนะนํา อํานวยความสะดวกและประเมินผลงานของผูเรียน

ในการเขียนรายงานผลการทําโครงงาน วิมลศรี สุวรรณรัตน (2555) ไดนําเสนอแนวทางการรายงานผลการทําโครงงานจากงายไปหายากได 3 ประเภทคือ โครงงานแบบ S (สามารถดําเนินการไดเสร็จในชั้นเรียน เหมาะกับระดับตน) แบบ M (ใชเวลา 3-7 วัน รวมเวลานอกชั้นเรียน) และแบบ L

Page 39: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

48

(ใชเวลา 1-2 สัปดาห รวมเวลานอกชั้นเรียนและมีการรายงานผลในรูปแบบรายงานการวิจัย 5 บท)ลักษณะการเขียนรายงานผลโครงงานแบบ S M L ดังภาพท่ี 2.2-2.4 ดานลางนี้

ภาพท่ี 2.2 ตัวอยางรูปแบบการเขียนรายงานโครงงานแบบ S

ภาพท่ี 2.3 ตัวอยางรูปแบบการเขียนรายงานโครงงานแบบ M

โครงงานวิทยาศาสตร เรื่อง.............................ผูจัดทํา..............................................................

1. ท่ีมาและความสําคัญของโครงงาน (ทําไมจึงทําโครงงานเรื่องนี)้2. วัตถุประสงค (ทําเพ่ืออะไร)3. ขอบเขตของการศึกษาคนควา (จะทําอะไร ท่ีไหน เม่ือไร)4. อุปกรณ (ใชวัสดุอุปกรณ เครื่องมือ เอกสารอะไรบาง)5. วิธีการศึกษา (จะทําอยางไร มีข้ันตอนอะไรบาง)6. ผลการศึกษา (ผลเปนอยางไร คําตอบท่ีไดคืออะไร จะแสดง นําเสนอ

ดวยอะไร ตาราง หรือ Mind Map)7. เอกสารอางอิง (คนควาจากหนังสือเอกสารอะไรบาง)

โครงงานวิทยาศาสตรเรื่อง………….ผูจัดทํา1.2.3.ครูท่ีปรึกษา............................โรงเรียน..............

ท่ีมาและความสําคัญของโครงงาน.............................................................................................................

วัตถุประสงค....................................................

วัสดุอุปกรณ.............................................................

วิธีดําเนินการ.........................................................

ผลการศึกษา...........................................................................................................................

อภิปรายผล.........................................................................................................................

สรุปผล ประโยชน และขอเสนอแนะ................................................................................

เอกสารอางอิง..............................................................................................................

Page 40: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

49

ภาพท่ี 2.4 ตัวอยางรูปแบบการเขียนรายงานโครงงานแบบ L

จากข้ันตอนการทําโครงงานและข้ันตอนการจัดการเรียนรู และการเขียนรายงานผลการทําโครงงาน จะเห็นไดวาการทําโครงงานชวยใหผู เรียนไดเรียนรู เนื้อหาไปพรอมกับกระบวนการวิทยาศาสตร ไดฝกทักษะการเรียนรูดวยตนเอง การคิด การสื่อสาร การปฏิบัติ ความอดทนพยายามความมุงม่ันในการเรียนรู ผูสอนเปลี่ยนบทบาทจากผูถายทอดเปนผูอํานวยความสะดวก ใหความชวยเหลือ แนะนํา สรางแรงจูงใจในการเรียนใหกับผูเรียน ผูสอนจึงตองมีความรูความเขาใจเก่ียวกับข้ันตอนการทําโครงงาน บทบาทและกิจกรรมท่ีผูสอนนํามาใชในการจัดการเรียนรู การประเมินผลโครงงาน จึงจะชวยใหการจัดการเรียนรูแบบโครงงานประสบผลสําเร็จ

5. ขอดี และขอจํากัดของการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน5.1 ขอดี

5.1.1) ผูเรียนมีสวนรวมในการจัดการเรียนรู ไดลงมือปฏิบัติดวยตนเอง5.1.2) ผูเรียนไดเรียนรูอยางเปนกระบวนการ และบูรณาการ ดังนั้นการจัดการ

เรียนรูจึงไมใชการมอบหมายงานหลังจากท่ีเรียนเนื้อหาแลว5.1.3) ผูเรียนไดฝกทักษะตาง ๆ ไดแก การคิด การเรียนรูดวยตนเอง การสื่อสาร

การทํางานรวมกับผูอ่ืน การแกปญหา5.1.4) ผูเรียนมีแนวทางในการเรียนรูดวยตนเองตลอดชีวิต

5.2 ขอจํากัด5.2.1) การจัดการเรียนรูแบบโครงงานผูเรียนตองใชเวลาในการเรียนรูและอาจตองมี

คาใชจายเพ่ิมข้ึน5.2.2) ผูสอนอาจติดตามใหคําแนะนําชวยเหลือไมท่ัวถึง

บทท่ี 1บทนํา

1.1 ท่ีมาและความสําคัญของโครงงาน

1.2 วัตถุประสงค1.3 ตัวแปรท่ีเก่ียวของ1.4 สมมติฐาน (ถามี)1.5 ประโยชนท่ีคาดวา

จะไดรับ

บทท่ี 2เอกสารท่ีเก่ียวของ

..........................................................

บทท่ี 3อุปกรณและวิธีดําเนินการ

....................................................

บทท่ี 4ผลการศึกษา

....................................................

บทท่ี 5สรุปผล ประโยชนและขอเสนอแนะ

............................................................

Page 41: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

50

การใชไอซีที (ICT) ในการเรียนการสอนไอซีที มาจาก Information and Communications Technology เปนการรวมตัวของ

เทคโนโลยีคอมพิวเตอรเพ่ือการประมวลขอมูลใหเปนสารสนเทศเพ่ือจัดเก็บอยางเปนระบบ สามารถเขาถึงและสืบคนนํามาใชไดโดยสะดวก เปนสื่อกลางนําเสนอสารสนเทศ รวมถึงการรับสงสารสนเทศดวยเทคโนโลยีการสื่อสารความเร็วสูง เพ่ือสงผานสารสนเทศไดอยางรวดเร็ว (กิดานันท มลิทอง, 2548: 12)ตัวยาง เชน การถายภาพดวยกลองดิจิตอล และนําเสนอในหองเรียน การเบิกถอนเงินดวยเครื่อง ATMการสื่อสารออนไลนระหวางธนาคาร เปนตน

องคประกอบสําคัญของ ICTกิดานันท มลิทอง (2548 : 19) กลาวถึงเทคโนโลยีสําคัญท่ีใชในไอซีทีวามี 4 อยาง ไดแก

1. โครงสรางพ้ืนฐานไดแก คอมพิวเตอรและชองทางการสื่อสาร2. เทคนิควิธีการ ไดแก อินเทอรเน็ตและเวิลดไวดเว็บ การสงสัญญาณผานดาวเทียม การ

ประชุมทางไกล ขอความหลายมิติ และสื่อหลายมิติ สื่อประสมเชิงโตตอบ ความเปนจริงเสมือนเปนตน

3. สื่อ ไดแก ดวีีดี และวีซีดี เครื่องแปลภาษา เปนตน4. เครือขาย ไดแก เทคโนโลยีไรสาย เทคโนโลยีบรอดแบนด เปนตน

การใชเทคโนโลยีในการเรียนรู มี 3 ลักษณะ ดังนี้1. การเรียนรูเก่ียวกับเทคโนโลยี (Learning about technology) เปนการเรียนรูเรื่องของ

เทคโนโลยี เชน เรียนรูเก่ียวกับระบบการทํางานของคอมพิวเตอร การใชประโยชนจากคอมพิวเตอรรูปแบบของเทคโนโลยี อุปกรณท่ีเก่ียวของ เปนตน

2. การเรียนรูโดยใชเทคโนโลยี (Learning by technology) เปนการใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือเพ่ือการเรียนรู เชน การใชอินเตอรเน็ตเพ่ือการคนควา การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการนําเสนอ การสรางบทเรียน การฝกทักษะ การใชอีเลรินนิ่ง เปนตน

3. การเรียนรูไปกับเทคโนโลยี (Learning with technology) เปนการเรียนรูความกาวหนาของเทคโนโลยีท่ีมีการเผยแพรเพ่ือใชในงานตางๆ

ในการวิจัยครั้งนี้ โรงเรียนวัดสโมสรไดเนนการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรูและการเรียนรูโดยใชเทคโนโลยี

จุดมุงหมายในการใชไอซีทีในการสอน มีดังนี้1. เพ่ือใหผูเรียนไดเรียนรูและฝกทักษะการใชเทคโนโลยีมีการศึกษาคนควาการฝกทักษะ

ทางวิชาการ การฝกทักษะการคิด และการวัดผลประเมิน2. เพ่ือใหผูเรียนสามารถใชไอซีทีเปนเครื่องมือในการเรียนรูตลอดชีวิตและใชใหเปน

ประโยชนตอการดํารงชีวิต3. เพ่ือใหผูเรียนมีเจตคติท่ีดีตอการใชไอซีที ในชีวิตประจําวันการเรยีนรูตลอดชีวิต และการ

Page 42: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

51

ประกอบอาชีพดังนั้นผูสอน จึงควรมีความรูและทักษะในการใชไอซีที เพ่ือนํามาใชประโยชนในการจัดการ

เรียนรู และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

รูปแบบการใชไอซีทีในการสอน การใชไอซีทีในการสอน มี 2 รูปแบบ คือ การใชคอมพิวเตอรแบบไมตอเครือขายเพ่ือการประมวลผลขอมูล จัดเก็บและสืบคนโดยเฉพาะ และการใชคอมพิวเตอรแบบตอเครือขายเพ่ือการติดตอสื่อสาร

1. การใชคอมพิวเตอรไมตอเครือขาย เปนการใชคอมพิวเตอรแบบเอกเทศ (stand alone)ใชคนเดียวไมเปดชองการติดตอกับผูอ่ืนเครือขาย ท่ีเรียกวาออฟไลน (off line) ใชซอฟตแวรในการประมวลขอมูล ลักษณะตาง ๆ เพ่ือพิมพเอกสารตางๆ เพ่ือพิมพเอกสารตกแตงภาพกราฟฟก หรืออาจใชอุปกรณอ่ืน เชน กลองถายรูปดิจิทัล ถายภาพมาใชในการเรียนการสอน การใชแผนซีดี ดีวีดี ในการนําเสนอขอมูล เปนตน

2. การใชเครือขายคอมพิวเตอร เปนการใชคอมพิวเตอรแบบเชื่อมโยงกันตั้งแต 2 เครื่องข้ึนไปเพ่ือการติดตอสื่อสาร เรียกวาการใชงานแบบออนไลน (online) อาจเปนการเชื่อมตอแบบใชสายและไรสาย ท้ังระยะใกล เฉพาะท่ีภายในหองเดียวกัน และระหวางหองตางๆ ภายในตึกเดียวกันและการเชื่อมตอกับเครือขายอ่ืน ๆ ท่ัวโลกในลักษณะของอินเทอรเน็ต การใชงานและการเชื่อมตอกับเครือขายอ่ืนๆ ท่ัวโลกในลักษณะของอินเทอรเน็ต การใชงานมีตั้งแตใชในการสืบคนขอมูล การสงจดหมายรูปภาพ การเรียนการสอนทางไกล เปนตน

การเตรียมความพรอมในการใชไอซีทีในการเรียนการสอน1. โรงเรียนตองมีโครงสรางพ้ืนฐานไอซีที เชน จํานวนคอมพิวเตอร การวางสายโทรศัพท ท่ี

พรอมสําหรับการใชไอซีที2. ตองใชตนทุนสูงโดยเริ่มตนในโครงสรางพ้ืนฐาน คาไฟฟา โทรศัพท การเชื่อมตอเครือขาย

การรักษาความปลอดภัยข้ันตอนการจัดการเรียนการสอนโดยใชไอซีที

1. ศึกษาหนวยการเรียนรู ความพรอมทางโครงสรางพ้ืนฐานไอซีทีความพรอมของผูเรียน2. ออกแบบการจัดการเรียนรู โดยใชไอซีที อาจเปนการเรียนรูรวมกัน แบบแกปญหา แบบ

บูรณาการ หรือใชเปนสื่อ เชนรูปภาพ/บทเรียน คอมพิวเตอร เว็บไซต โปรแกรมคอมพิวเตอร เปนตน3. เตรียมเนื้อหา สื่อไอซีที ตามท่ีออกแบบไว4. จัดการเรียนรูตามแผน ใหความชวยเหลือ แนะนําอํานวยความสะดวก ทักษะการใชไอซีที

และทักษะอ่ืนๆ ตามจุดประสงค5. วัดและประเมินผลผูเรียนในดานผลสัมฤทธิ์ของกลุมสาระการเรียนรูท่ีไดเรียน ดานทักษะ

และเจตคติในการใชไอซีที (ตามท่ีกําหนดไวในจุดประสงค)

Page 43: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

52

ขอควรระวังในการใชไอซีทีในการเรียนการสอน1. ขอมูลท่ีผูเรียนสืบคนจากเว็บไซตอาจไมถูกตอง กอใหเกิดความเขาใจผิดได2. ผูเรียนอาจเขาไปดูเว็บไซตท่ีไมเหมาะสม

บทบาทของผูสอน และผูเรียนบทบาทของผูสอน1. วางแผนและออกแบบการจัดการเรียนรูท่ีใชไอซีทีท่ีมีประสิทธิภาพ2. สาธิตการใชไอซีที ในการเรียนรูของผูเรียน3. เปนผูอํานวยความสะดวกในการเรียนรูโดยใชไอซีทีของผูเรียน4. เปนผูรวมเรียนรูกับผูเรียน เชื่อมโยงผูเรียนกับโลกภายนอก5. เปนผูชี้แนะ ใหคําปรึกษา6. เปนผูวัด และประเมินผลผูเรียนบทบาทของผูเรียน1. เปนผูมีสวนรวมรับผิดขอบในการเรียนของตัวเอง2. เปนผูเรียนรู ใฝรูในการพัฒนาทักษะการใช IT ของตัวเอง3. เปนผูเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติ และการแกปญหา4. เปนผูกํากับติดตาม และประเมินผลการเรียนรู5. เปนผูสรางองคความรูใหมท่ีไดจากการศึกษาคนควา การปฏิบัติ

หลักสูตรพัฒนาความรูไอซีทีของผูสอนจากแผนแมบทการศึกษาแหงชาติ (กิดานันท มลิทอง 2548: 170) เรื่องไอซีทีได กําหนด

หลักสูตรพัฒนาความรูไอซีที ของครู เปน 3 ระดับ ดังนี้1. ระดับตน เปนหลักสูตรเก่ียวกับความรูไอซีทีข้ันพ้ืนฐาน การใชคอมพิวเตอรและ

อินเทอรเน็ต2. ระดับกลาง เปนหลักสูตรเก่ียวกับความรู และทักษะการใชไอซีทีระดับสูง ใหครูสามารถ

สรางสื่อการเรียนการสอนโดยใชไอซีทีได เชน การสรางเว็บเพจอยางงาย3. ระดับสูง เปนหลักสูตรเก่ียวกับความรูในดานเปนผูดูแลอุปกรณไอซีที การพัฒนาโปรแกรม

เปนตนนอกจากนี้ กิดานันท มลิทอง (2548: 170) ยังกลาววา นอกจากความรูในเนื้อหา และความ

เชื่อม่ันในสมรรถนะของไอซีที เพ่ือสามารถนํามาใชในการจัดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพแลวผูสอนยังตองมีความรอบรู ในเรื่องตอไปนี้

1. การรูไอซีที การรูสารสนเทศ การรูคอมพิวเตอร และความรูดานเทคนิคเพ่ือใชประสานพรอมกัน

Page 44: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

53

2. การเลือกใชและประเมินคุณภาพของซอฟทแวรโปรแกรมเพ่ือนํามาใชใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชา

3. การเขียนแผนการจัดการเรียนรูดวยไอซีทีกิดานันท มลิทอง (2548) ไดเสนอขอดใีนการใชไอซีทีในการจัดการเรียนรู ดังนี้1. ผูเรียนสามารถเรียนรูดวยตนเองไดมากข้ึนไมจํากัดเวลาและสถานท่ี สามารถเรียนรูไดตลอด

ชีวิต2. ผูเรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียน สนใจในการเรียนมากข้ึนสามารถเรียนไดตามความสนใจได

มากข้ึน3. ผูสอนสามารถออกแบบการเรียนรูท่ีนาสนใจ แลมีประสิทธิภาพมากข้ึน ชวยยกระดับคุณภาพ

การเรียนการสอนไดในท่ีสุด4. ชวยใหผูสอนและผูเรียนมีทักษะการใชไอซีที พรอมอยูในสังคมในศตวรรษท่ี 21

งานวิจัยที่เกี่ยวของซาบาร และฮาชาฮาร (Sabar & HaShahar. 1999) ศึกษาความสัมพันธระหวางสภาพโรงเรียน

กับการฝกอบรมโดยใชโรงเรียนเปนฐาน และการศึกษารูปแบบการจัดการของโรงเรียนรวมท้ังผลของการฝกอบรมโดยใชโรงเรียนเปนฐาน และการนําผลของการฝกอบรมโดยใชโรงเรียนเปนฐานไปใชเปนการศึกษารายกรณี (case study method) โดยมีข้ันตอนการดําเนินการอบรม เชน ข้ันตอนการหาความตองการจําเปนในการฝกอบรม ข้ันตอนในการหาทางเลือกในการแกปญหา ข้ันตอนในการตัดสินใจรวมกันในการปฏิบัติการฝกอบรม นอกจากนี้ ยังพบวาการอบรมในโรงเรียนท่ีมีการบริหารงานแบบกระจายอํานาจจะชวยสนับสนุนการทํางานของครู เพ่ิมแรงจูงใจ ทัศนคติในการทํางาน รวมท้ังชวยสรางวัฒนธรรมการเรียนรูแบบรวมมือรวมพลังในโรงเรียนอีกดวย

โรบินสัน และคารริงตัน (Robinsom & Carrington. 2002) ศึกษาการใชรูปแบบการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใชโรงเรียนเปนฐานท่ีเกิดจากความรวมมือระหวางโรงเรียนกับมหาวิทยาลัย เปนการศึกษารายกรณี (case study method) โดยมีข้ันตอนการดําเนินการ ดังนี้

ข้ันตอนท่ี 1 การสํารวจความตองการจําเปนการฝกอบรม ใชเทคนิคการอภิปรายกลุม(Discussion) โดยใหครูและผูมีสวนเก่ียวของเปนกลุมผูใหขอมูล แบงเปนกลุมยอยประมาณ 16 คนประเด็นการอภิปราย คือ การจัดกระบวนการเรียนรู ปญหาการจัดกระบวนการเรียนรู พ้ืนท่ีของการพัฒนาวิชาชีพครู

ข้ันตอนท่ี 2 การออกแบบการฝกอบรม เปนการดําเนินงานระหวางนักวิจัยกับครูท่ีเปนกลุมเปาหมาย โดยเลือกมา 1 กรณี เพ่ือเลือกจุดเนนและรูปแบบการเรียนรูของครู ใชเทคนิคการสนทนากลุม (focus group) แบงครูออกเปน 2 กลุม คือ รูปแบบการเรียนรูของครู จุดเนนความสนใจของครูและสารสนเทศท่ีครูตองการ

Page 45: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

54

ข้ันตอนท่ี 3 การแลกเปลี่ยนเรียนรู นักวิจัยกับครูมืออาชีพและครูท่ีเปนกลุมเปาหมายรวมกันวางแผนการเรียนรูกับนักวิจัยคนท่ีสองและครูมืออาชีพ

ข้ันตอนท่ี 4 การฝกปฏิบัติจริงในหองเรียน เปนการดําเนินงานของครูท่ีเปนกลุมเปาหมาย เพ่ือนําแผนการจัดการเรียนรูและความรูตาง ๆ ท่ีไดรับจากข้ันตอนท่ี 3 ลงสูหองเรียน ใชเทคนิคการสนทนากลุม ในระหวางการสนทนากลุม ครูจะไดรับเอกสารและบทความท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาวิชาชีพครูแบบตางๆ เพ่ือชวยใหครูเลือกพ้ืนท่ีความสนใจได

ข้ันตอนท่ี 5 การนิเทศและติดตามผล เปนการดําเนินงานของนักวิจัยคนท่ีสองกับครูแตละคนท่ีเปนกลุมเปาหมาย นักวิจัยคนท่ีสองจะเขาไปเยี่ยมชั้นเรียน เพ่ือรวมกันวางแผนและดําเนินงานตามหัวขอความสนใจของครูแตละคน รวมท้ังการแกปญหาท่ีเกิดข้ึนตลอดจนแผนการจัดการเรียนรู ข้ันตอนนี้อยูในชวง สัปดาหท่ี 2 – สัปดาหท่ี 6 และใชเทคนิคในการสนทนากลุมวันสุดทาย 1 วันครึ่ง ระหวางครูกลุมท่ี 1กับครูกลุมท่ี 2 เพ่ือรวมกันแบงปนความรูรวมกันและรายงานความกาวหนาในการเรียนรู

ข้ันตอนท่ี 6 การสะทอนความคิดของครูในกลุมรูปแบบการจัดการฝกอบรมโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ท่ีเกิดจากความรวมมือระหวางโรงเรียนกับมหาวิทยาลัย ใชเทคนิคการสัมมนากลุมใหญ ประเด็นของการสัมมนา คือ ประโยชนของรูปแบบการฝกอบรมโดยใชโรงเรียนเปนฐาน จุดดอยของการฝกอบรมวิธีการทําใหเกิดความยั่งยืน ปจจัยท่ีสงผลตอความสําเร็จ การดําเนินงานนี้ใชเวลาเพียง 1 วันครึ่ง

การวิเคราะหขอมูลแบงออกเปน 4 หัวขอ คือ (1) พ้ืนท่ีจุดเนนของครูรายบุคคล (2) ผลทางบวกของกระบวนการ (3) พ้ืนท่ีสําหรับการปรับปรุงและ (4) ความคิดเพ่ือการรวมมือรวมพลังอยางยั่งยืน ซึ่งสรุปผลไดวารูปแบบการอบรมดังกลาว มีประสิทธิผลดี เนนการแบงปนความรูและประสบการณท่ีมีอยูผานกระบวนการรวมมือรวมพลังระหวางอาจารยในมหาวิทยาลัยกับครูในโรงเรียน นอกจากนี้ผูเขารับการอบรมเสนอแนะวา ควรมีการปรับปรุงในเรื่องของเวลา และวิธีการมองหาจุดท่ีตองการพัฒนาหรือจุดท่ีสนใจซึ่งเปนเรือ่งยาก

อีเวอรทสัน (Evertson. 1989) ศึกษาการพัฒนาและใชรูปแบบการฝกอบรมโดยใชโรงเรียนเปนฐาน และประเมินผลการฝกอบรมโดยใชการวิจัยเชิงทดลอง เพ่ือปรับปรุงการจัดการหองเรียนในระดับประถมศึกษา หลักการท่ีใช คือ สงหนวยพัฒนาบุคลากรประจําเขตพ้ืนท่ีทําหนาท่ีเปนผูใหการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการในโรงเรียน จํานวน 3 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน จากนั้นผูใหการฝกอบรมจะใชเวลาเพ่ิมอีก 2 สัปดาห สําหรับพัฒนาการนําเสนอและกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ซึ่งจะจัดข้ึนกอนวันเปดภาคเรียน หลังจากนั้นจะเขาสูกระบวนการฝกอบรมตามข้ันตอนดังตอไปนี้

ข้ันตอนท่ี 1 การใหความรู เปนการดําเนินงานระหวางผูใหการฝกอบรมกับครูท่ีอยูในกลุมทดลองเพ่ือใหความรูและฝกปฏิบัติเก่ียวกับการใชพ้ืนท่ี การเตรียมความพรอมของหองเรียน การสรางกฎสําหรับพฤติกรรมโดยท่ัว ๆ ไป การสรางกฎและกระบวนการสําหรับเรื่องเฉพาะ ไดแก ก) การใชพ้ืนท่ีในหองเรียนและสิ่งอํานวยความสะดวก ข) การใชพ้ืนท่ีนอกหองเรียน ค) การมีสวนรวมในกิจกรรมของหองเรียน ง) การมีสวนรวมในกิจกรรมประจําวัน จ) การมีสวนรวมในกิจกรรมระหวางกลุมยอย

Page 46: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

55

ข้ันตอนท่ี 2 การฝกปฏิบัติจริงในหองเรียน เปนการดําเนินงานในครูท่ีอยูในกลุมทดลอง นําความรูท่ีไดจากข้ันตอนท่ี 1 ไปฝกปฏิบัติในหองเรียน ตั้งแตวันแรกของการเปดภาคเรียน ดําเนินการตลอดภาคเรียน

ข้ันตอนท่ี 3 การนิเทศติดตาม เปนการดําเนินงานระหวางผูใหการอบรมกับครูท่ีอยูในกลุมทดลอง เพ่ือติดตามผลจากการประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยผูใหการฝกอบรมจะเนนย้ําหลักของการจัดหองเรียน ไดแก ก) ความยืดหยุนดานกิจกรรมและดานวิชาการ ข) การรับรูพฤติกรรมท่ีเหมาะสม ค)การหยุดพฤติกรรมท่ีไมเหมาะสม ง) การลงโทษและการใหแรงเสริม จ) การปรับปรุงการสอนสําหรับเด็กรายบุคคลและรายกลุม ฉ) การสอนใหเด็กมีเหตุผล และ ช) การจัดการกับปญหาเฉพาะอยาง รวมท้ังแนะนําการแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึน

ผลการศึกษาพบวา การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการโดยใชโรงเรียนเปนฐานท่ีใชผูใหการฝกอบรมจากหนวยงานภายนอกเปนรูปแบบท่ีไดผลดี เด็กท่ีเรียนในหองดังกลาวมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวาและแกไขปญหาพฤติกรรมท่ีไมเหมาะสมของตนเองไดดีกวา

อรพรรณ พรสีมา และพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ (2546) ทําการสังเคราะหการวิจัยและพัฒนารูปแบบการฝกอบรมโดยใชโรงเรียนเปนฐาน โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือสังเคราะหรายงานการวิจัยและพัฒนารูปแบบการฝกอบรมครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน จํานวน 10 โครงการ ไดแก 1) โครงการปยมิตรสัมพันธ 2) โครงการกลุมเครือขายสัมพันธ 3) โครงการรวมมือชวยกันแลกเปลี่ยนเรียนรู 4) โครงการรวมสรางองคความรูสูการพัฒนาผูเรียน 5) โครงการจุดประกายดวยปลายพูกัน 6) โครงการเครือขายสหมิตร 7) โครงการการมีสวนรวมกิจกรรมแบบผสมผสาน 8) โครงการธาตุพนมรวมใจ 9) โครงการการเรียนรูคูสัญญา 10) โครงการการเรียนรูสูการพัฒนาท่ีไมรูจบ โดยโครงการดังกลาวมีกรอบแนวความคิดของการฝกอบรมครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ผลการสังเคราะห พบวา รูปแบบการฝกอบรมครูท่ีใชโรงเรียนเปนฐานท้ังสิบรูปแบบใชไดผลดี ครูมีความพึงพอใจในบรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรูแบบกัลยาณมิตร มีการนําสิ่งท่ีเรียนรูและพัฒนารวมกันไปใชจริงในหองเรียนของตน นักเรียนมีความพึงพอใจมีความสุขในการเรียนและมีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนดีข้ึนอยางชัดเจน มีคาใชจายโดยเฉลี่ยประมาณ2,043 บาทตอครูผูเขารับการอบรมหนึ่งคนตลอดภาคการศึกษา

ศศิธร เขียวกอ (2548) ศึกษาเปรียบเทียบผลการฝกอบรมระหวางการฝกอบรมครูแบบดั้งเดิมและแบบใชโรงเรียนเปนฐาน (School based training : SBT) โดยแบงการดําเนินการออกเปน 3 ระยะคือ (1) ระยะเตรียมการฝกอบรม มีการเตรียมการจัดทําหลักสูตร สํารวจความตองการจําเปนในการฝกอบรม พัฒนาโปรแกรมการฝกอบรม ใชระยะเวลา 3 สัปดาห (2) ระยะเวลาฝกอบรม ในการวัดสมรรถภาพของผูเขารับการฝกอบรม แบบวัดเขาฟงการบรรยายและฝกอบรม ใชระยะเวลา 5 สัปดาห(3) ระยะหลังการฝกอบรม มีการประเมินผล และปรับปรุงการฝกอบรม ใชเวลา 2 สัปดาห ผลของการวิจัยพบวา รูปแบบของการฝกอบรมแบบดั้งเดิมยังมีความเหมาะสมและสามารถนํามาใชพัฒนาครูไดดีเม่ือหนวยงานตองการเพ่ิมพูนความรูความเขาใจในสาระความรูใหม ทัศนะคติตอการทํางาน รวมท้ังการยอมรับความสามารถของตน เพราะสามารถจัดไดสําหรับครูจํานวนมากและใชเวลาสั้น อยางไรก็ตาม

Page 47: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

56

การฝกอบรมแบบดังกลาวไมประสบความสําเร็จในดานการลงมือปฏิบัติ ไมไดนํามาใชจริง สวนการฝกอบรมแบบ SBT จะมีประสิทธิภาพในแงของการลงทุนพัฒนา เห็นผลไดชัดเจนเปนรูปธรรมนอกจากนี้กระบวนการฝกอบรมยังสรางบรรยากาศของการทํางานและการเรียนรูไดดี เพ่ิมโอกาสในการทํางานรวมกัน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู สะทอนความคิด

ประเภทของผูใหการฝกอบรม พบวา ครูในโรงเรียนสามารถเปนผูใหการฝกอบรมท่ีดีกวาผูประเมินมืออาชีพ หากครูนั้นมีความรูความสามารถอยางแทจริง ถูกตองตามหลักการ เพราะจะมีจิตวิทยาการถายทอดความรู ชวยเหลือ แนะนําได มีมนุษยสัมพันธ ไดรับความไววางใจ จะรูปญหาและความตองการของโรงเรียน ประหยัดคาใชจาย สวนผูใหการฝกอบรมมืออาชีพและผูเชี่ยวชาญภายนอกจะมีความรูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกวางขวาง ทําใหสามารถอธิบายขอสงสัยตางๆ ไดอยางไมจํากัด มีประโยชนในแงความถูกตองตามหลักการ ความคงทนของความรู

ปจจัยท่ีสงผลใหการพัฒนาครูมีคุณภาพ มี 3 ประการ คือ (1) เวลา คือ ครูตองการเวลาท่ีเพียงพอ อบรมสมํ่าเสมอและตอเนื่อง (2) ผูบริหารสถานศึกษา ตองใหการสนับสนุนในดานเวลางบประมาณ และวัสดุ มีการใหกําลังใจ กระตุนจิตสํานึก เผยแพรผลงาน และ (3) แหลงทรัพยากรตาง ๆในโรงเรียน ไดแก บุคลากรในโรงเรียน กลุมเพ่ือนครู และแหลงคนควาขอมูลในโรงเรียน

ธีระพร อายุวัฒน และนภดล เจนอักษร (2552) ซึ่งทําการศึกษาแนวปฏิบัติท่ีเปนเลิศในการบริหารวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็ก ไดแนวปฏิบัติ 17 ดาน ไดแก 1) การพัฒนาสาระหลักสูตรทองถ่ิน2)การวางแผนงานวิชาการ 3) การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา 4) การพัฒนาหลักสูตร 5) การพัฒนากระบวนการเรียนรู 6)การวัดผลประเมินผลและเทียบใชผล 7) การวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา 8) การพัฒนาและสงเสริมใหมีแหลงเรียนรู 9) การนิเทศการศึกษา 10) การแนะแนว 11) การพัฒนาระบบคุณภาพภายในมาตรฐานการศึกษา 12) การสงเสริมชุมชนใหมีความเขมแข็งทางวิชาการ 13) การประสานความรวมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษา องคกรอ่ืน 14)การสงเสริมสนับสนุนงานวิชาการแกบุคคล ครอบครัว องคกร หนวยงาน สถานประกอบการและสถาบันอ่ืน ท่ีจัดการศึกษา 15) การจัดระเบียบและแนวปฏิบัติเก่ียวกับงานดานวิชาการของสถานศึกษา 16)การคัดเลือกหนังสือแบบเรียนเพ่ือใชในสถานศึกษา 17) การพัฒนาการใชสื่อเทคโนโลยีเพ่ือสถานศึกษา

ขัตติยา ดวงสําราญ และ ประเสริฐ อินทรรักษ (2552) ไดวิจัยเรื่องรูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธสําหรับโรงเรียนขนาดเล็ก พบวารูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธสําหรับโรงเรียนขนาดเล็กประกอบดวย 1) การวางแผนกลยุทธ 2) ประเมินสภาพของโรงเรียน 3) กําหนดทิศทางของโรงเรียน 4)กําหนดกลยุทธของโรงเรียน 5) การปฏิบัติตามกลยุทธของโรงเรียน 6) ประเมินกลยุทธของโรงเรียน

กมลวรรณ รอดจาย (2553) ไดศึกษาวิเคราะหปจจัยท่ีสงผลตอประสิทธิภาพโรงเรียนขนาดเล็กโดยใชกลุมตัวอยางเปนโรงเรียนขนาดเล็กนํารอง จํานวน 660 แหง ผลการวิจัยพบวา ปจจัยท่ีสงผลตอประสิทธิภาพโรงเรียนขนาดเล็กท่ีเปนกลุมตัวอยาง ประกอบดวย 8 ตัวแปรไดแก 1)ภาวะผูนําของผูบริหาร 2)สมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา 3)การบริหารจัดการ 4)การจัดการเรียนรู 5)การจัดสภาพแวดลอมเพ่ือการเรียนรู 6)การมีสวนรวมของชุมชน 7)การนํานโยบายสูการปฏิบัติ 8)

Page 48: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

57

ประสิทธิภาพโรงเรียนขนาดเล็ก โดยปจจัยดานสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษามีอิทธิพลทางตรงตอประสิทธิภาพของโรงเรียนขนาดเล็กสูงท่ีสุด รองลงมา คือ ปจจัยดานการจักการเรียนรูในขณะท่ีปจจัยดานการนํานโยบายสูการปฏิบัติมีอิทธิพลทางออม ตอประสิทธิภาพโรงเรียนขนาดเล็กโดยสงผานปจจัยดานการบริหารจัดการและปจจัยดานการจัดการเรียนรู นอกจากนี้ปจจัยดานสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษามีอิทธิพลรวมตอประสิทธิภาพของโรงเรียนขนาดเล็กสงูสุด

ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร และ วาโร เพ็งสวัสดิ์ (2554) ไดวิจัยเรื่อง รูปแบบการพัฒนาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พบวาวิธีการพัฒนาครูมี 2 ลักษณะ คือ 1) วิธีการพัฒนารายบุคคล ประกอบดวย วิธีการศึกษาดวยตนเอง และการฝกปฏิบัติงาน และ 2) วิธีการพัฒนาเปนรายกลุม ประกอบดวย การประชุม การอภิปราย การอบรมการศึกษารายกรณี การศึกษาดงูาน การสาธิต และกิจกรรมนันทนาการ

อภิเชษฐ ฉิมพลีสวรรค (2554) ไดศึกษาวิเคราะหปจจัยเชิงคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จํานวน 374 โรง พบวา ปจจัยเชิงสาเหตุของคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีท้ังปจจัยภายนอกและปจจัยภายใน โดยปจจัยภายนอกไดแก 1)สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ2) สภาพแวดลอมทางสังคม 3)สภาพแวดลอมทางการเมือง 4)สภาพแวดลอมทางเทคโนโลยี สวนปจจัยภายในไดแก 1)โครงสรางองคกร 2)บุคลากร 3)สภาพทางกายภาพ 4)งบประมาณ และ 5)การบริหารจัดการ โดยปจจัยภายนอกสงผลตอคุณภาพในการจักการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็กสูงกวาปจจัยภายใน

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2554) ไดทําการศึกษาพัฒนานโยบายการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยใชระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา 3 ข้ันตอน คือ 1) การระบุประเด็นปญหาขอเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 2) การพัฒนาทางเลือกขอเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา และ 3) การพัฒนาขอเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยมีผูใหขอมูลจาก 7 ภูมิภาคท่ัวประเทศ 5 กลุม จํานวน 314 คน ผลการศึกษาพบวา 1) ผลการศึกษาสภาพปญหาและแนวทางการแกปญหาการจัดการเรียนการสอนท่ีสงผลตอการพัฒนาคุณภาพผูเรียนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สรุปไดวา ครูผูสอนสวนใหญไมไดจบการศึกษาวิชาเอกในกลุมสาระท่ีสอน มีภาระงานมากข้ึนขาดความรูความเขาใจในหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน มีการวัดผลประเมินผลไมเหมาะสม ขาดการนิเทศติดตามพัฒนาครู ขาดขวัญกําลังใจในการทํางาน ผูเรียนขาดทักษะพ้ืนฐานท่ีจําเปนตอการเรียนรู ขาดอัตรากําลังของศึกษานิเทศกท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะกลุม 2) ผลการศึกษาสภาพปญหาการจัดการเรียนการสอนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานดานผูเรียน พบวา ผูเรียนไดรับการพัฒนาทางวิชาการมากข้ึนแตมีปญหาอันเนื่องมาจากสภาพสังคมและสิ่งแวดลอม มีผลสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนอยูในเกณฑต่ํา ขาดคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ขาดความสามารถในการวิเคราะห การแกปญหาและความคิดสรางสรรค ดานครูและบุคลากรทางการศึกษาพบวา ไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดานโครงสรางและระบบบริหารทําใหมีภารกิจเพ่ิมข้ึน และมี

Page 49: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

58

วิกฤติการขาดแคลนครูผูสอนในทุกชวงชั้น และทุกกลุมสาระการเรียนรู ดานการจัดการเรียนการสอนพบวา ครูผูสอนบางสวนยังไมสามารถปรับและพัฒนาตนเองในการจัดการเรียนการสอนในเนื้อหาสาระท่ีทันกับความเปลี่ยนแปลงของสังคม ดานการสงเสริมและสนับสนุนของผูเก่ียวของ พบวา 2.1) มีปญหาการดําเนินงานการกระจายอํานาจการบริหาร 2.2) การมีสวนรวมในการจัดการศึกษาของเอกชนและครอบครัว 2.3) ขาดการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการเรียนการสอนเนื่องจากครูและบุคลากรขาดความสามารถและไมไดรับการพัฒนาใหรูจักใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.4) ขาดกลไกท่ีจะจูงใจใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมเปนเครือขายในการจัดการศึกษา 3) ผลการศึกษาสภาพปญหาการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา พบวา ครูไดรับการพัฒนาคอนขางมาก แตยังขาดการติดตามประเมินผล หลักสูตรในการพัฒนาครูมีความซ้ําซอน มีคาใชจายเพ่ือการพัฒนาคอนขางสูง ขาดการวางแผนระยะยาวสําหรับแนวทางการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 4) ผลการสังเคราะหประเด็นปญหาการพัฒนาขอเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา พบวา สาเหตุปญหาการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถสังเคราะหประเด็นปญหาในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 7 ประเด็น ไดแก 4.1) ขาดระบบและกลไกการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน 4.2) ขาดระบบบริหารจัดการท่ีเอ้ือตอการปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา 4.3)ขาดระบบสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนท่ีสงผลตอคุณภาพผูเรียน 4.4) ขาดระบบการสงเสริมความกาวหนาทางวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา 4.5) ขาดขวัญกําลังใจในการทํางาน 4.6) ขาดระบบสงเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนท่ีเอ้ือตอการปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา 4.7)ขาดระบบและกลไกในการบริหารจัดการท่ีดี

จิรภัทร เหมืองทอง (2555) ไดศึกษาสภาพปญหาการนิเทศภายในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 โดยสอบถามจากผูบริหารและครูผูสอนจํานวน 230 คน พบวา สภาพปญหาการนิเทศภายในสถานท่ีศึกษาพ้ืนฐานโดยรวม และรายดานอยูในระดับกลาง เรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปนอยดังนี้ ดานการวิเคราะห จุดเดนจุดดอยเพ่ือกําหนดจุดพัฒนา การประเมินความตองการความจําเปนในการพัฒนา การหาแนวทางเลือกเพ่ือการพัฒนา การติดตามประเมินผลและปรับปรุง แกไข และดานการลงมือปฏิบัติ ท้ังความคิดเห็นของกลุมผูบริหาร และครูผูสอนท่ีมีสถานภาพตางกันไมแตกตางกัน เม่ือจําแนกตามขนาดของสถานศึกษา และประสบการณทํางานกลับมีความคิดเห็นโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยความสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.5 และมีขอเสนอแนะในการพัฒนาการนิเทศภายในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาใหมีการพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาใหมีความรูความเขาใจเก่ียวกับการนิเทศภายในตามความสามารถ และติดตามประเมินผลการดําเนินงานรวมกัน

ทวีศักดิ์ นามศรี (กันยายน-ธันวาคม 2555) ไดศึกษารูปแบบการบริหารและจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กท่ีมีประสิทธิผลตามข้ันตอนดังนี้ 1) ศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาสถานศึกษาขนาดเล็ก 11 โรงสถานศึกษาขนาดเล็กท่ีมีประสิทธิผล จํานวน 3 โรง และศึกษาเอกสารงานวิจัยเก่ียวกับการบริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก 2) พัฒนารูปแบบการบริหารและการจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กท่ีมี

Page 50: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

59

ประสิทธิภาพข้ันตน 3) ประเมินรูปแบบการบริหารและจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กท่ีมีประสิทธิภาพผลการวิจัยพบวา 1) สภาพดําเนินการของการบริหารและจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กท่ีประสบผลสําเร็จมากท่ีสุด คือ ดานการบริหารงานบุคคล สวนดานท่ีมีสภาพการดําเนินการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กท่ีประสบผลสําเร็จนอยท่ีสุดคือ ดานการบริหารวิชาการ สวนปญหาการดําเนินการของการบริการและจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กมีปญหามากท่ีสุด คือ ดานการบริหารวิชาการและปญหาการดําเนินการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กมีปญหานอยท่ีสุด คือ ดานการบริหารงานบุคคล 2) รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กท่ีมีประสิทธิผลมีองคประกอบของรูปแบบ 6ดาน คือ 2.1) ดานหลักการของรูปแบบประกอบดวย หลักการมีสวนรวม หลักธรรมาภิบาล หลักการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน หลักการกระจายอํานาจ หลักการใชเครือขายการจัดการศึกษา และหลักความตอเนืองยั่งยืน 2.2) ดานวัตถุประสงคของรูปแบบ คือ เพ่ือพัฒนาคุณภาพของนักเรียนในสถานศึกษาขนาดเล็กและเพ่ือพัฒนาสมรรถนะผูบริหาร ครูและครูเก่ียวของกับสถานศึกษาขนาดเล็ก2.3) ดานกลไกในการดําเนินการมี 2 ระดับ คือ กลไกระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ไดแก การกําหนดนโยบายตองชัดเจนปฏิบัติได แตงตั้งคณะกรรมการการศึกษาขนาดเล็ก สงเสริมการสรางการมีสวนรวมในการจัดการศึกษาของทุกคนทุกฝาย จัดสรรงบประมาณสนับสนุนสถานศึกษาขนาดเล็ก กํากับนิเทศติดตามและประเมินผลการดําเนินงานสถานศึกษาขนาดเล็ก และจัดกลไกระดับสถานศึกษา ไดแกกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาขนาดเล็ก จัดทําแผนงานโครงการ และกิจกรรมของสถานศึกษาขนาดเล็ก ดําเนินงานตามแผนงาน โครงการ และกิจกรรมจัดระบบกํากับ ติดตามและนิเทศภายในพัฒนาสมรรถนะของผูบริหาร ครู และผูเก่ียวของ 2.4) วิธีดําเนินการตามรูปแบบ ไดแก การบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารท่ัวไป 2.5) ดานการประเมินรูปแบบ ไดแก ประเมินคุณภาพนักเรียนตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และประเมินสมรรถนะผูบริหาร ครู และผูท่ีเก่ียวของในการปฏิบัติงาน 2.6) ดานเงื่อนไขความสําเสร็จไดแก ผูบริหารมีภาวะผูนําทางวิชาการ ครูและบุคลากรพัฒนาตนเองสมํ่าเสมอตอเนื่อง สถานศึกษาขนาดเล็กสรางเครือขายรวมกันในการพัฒนาการการศึกษา ลดข้ันตอนการปฏิบัติงานใหนอยลง กําหนดนโยบายแนวปฏิบัติใหชัดเจน และควรกําหนดแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาขนาดเล็กใหชัดเจน และ 3) ผลการประเมินความเหมาะสม ความเปนไปได และความเปนประโยชนรูปแบบการบริหารและจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กท่ีมีประสิทธิผล พบวา รูปแบบมีความเหมาะสม ความเปนไปได และความเปนประโยชน โดยภาพรวมอยูในระดับมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเปนรายดาน ความเหมาะสมมากท่ีสุด คือดานหลักการของรูปแบบและดานเงื่อนไขความสําเร็จ และดานท่ีมีความเหมาะสมนอยท่ีสุด คือ ดานการประเมินรูปแบบ ดานท่ีมีความเปนไปไดมากท่ีสุด คือ ดานการประเมินรูปแบบ ดานท่ีมีความเปนไปไดนอยท่ีสุด คือ ดานวัตถุประสงคของรูปแบบสวนดานความเปนประโยชนมากท่ีสุด คือ ดานการประเมินรูปแบบ และดานท่ีเปนประโยชนนอยท่ีสุด คือ ดานวัตถุประสงคของรูปแบบ

การทดลองใชรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาในครั้งนี้ ไดกําหนดวิธีการพัฒนาครูโดยใชกรอบแนวคิดการพัฒนาครูตามความตองการและกําหนดเปาหมายรวมกัน โดยมีเปาหมายในการ

Page 51: บทที่2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข องedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/2_250313_100347.pdf · บทที่2

60

พัฒนาทักษะการคิดของผูเรียนดวยการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน และการพัฒนาทักษะการใชสื่อไอซีทีในการจัดการเรียนการสอนของครู โดยกระบวนการพัฒนาครูตามรูปแบบมุงใหครูไดมีวิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู ประชุมอบรมสัมมนา ศึกษาเอกสาร และกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตรเพ่ือใหครูในโรงเรียนขนาดเล็กมีความรู ทักษะกระบวนการจัดการเรียนรูและเจตคติท่ีดีในการปฏิบัติงานหนาท่ีครู และโรงเรียนยังคงอยูเปนศูนยกลางแหงการพัฒนาของชุมชนและมีครูท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาผูเรียนใหมีความรูและคุณธรรมควบคูกันไป


Related Documents