Top Banner
การนําเข้าข้อมูลภาพด้วยการถ่ายภาพดิจิทัล ราชบดินทร์ สุวรรณคัณฑิ http://www.slideshare.net/rachabodin/
55

Images Digitization with Digital Photography

Nov 12, 2014

Download

Documents

This presentation provides a basis for converting the data into digital images using digital photography technique.
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Images Digitization with Digital Photography

การนําเข้าข้อมูลภาพด้วยการถ่ายภาพดิจิทัลราชบดินทร์ สุวรรณคัณฑิ

http://www.slideshare.net/rachabodin/

Page 2: Images Digitization with Digital Photography

หัวข้อการบรรยาย

• ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการถ่ายภาพ

• รู้จักกับกล้องถ่ายภาพดิจิทัล

• เทคนิคการถ่ายภาพและการจัดองค์ประกอบภาพ

2

Page 3: Images Digitization with Digital Photography

การถ่ายภาพคืออะไร

การถ่ายภาพ (Photography) คือ การบันทึกเหตุการณ์ ณ

เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยการเก็บสภาพแสง ณ เวลานั้นไว้บนวัตถุ

ไวแสง ผ่านอุปกรณ์รับแสงที่เรียกว่ากล้องถ่ายรูป หลังจากนั้น

จะสามารถเปลี่ยนสภาพแสงเหล่านั้น กลับมาเป็นภาพได้อีก

ครั้งหนึ่ง ผ่านกระบวนการล้างอัดภาพ

3ข้อมูลจาก http://th.wikipedia.org/wiki/การถ่ายภาพ

Page 4: Images Digitization with Digital Photography

การถ่ายภาพคืออะไร (ต่อ)

ในภาษาอังกฤษคําว่า การถ่ายภาพ คือ Photography (อ่านว่า

โฟโตกราฟฟี) มาจากการผสมคํากรีกสองคํา คือ

• คําว่า φως - phos ซึ่งแปลว่า แสง

• คําว่า γραφις - graphis หรือ γραφη - graphê

ซึ่งแปลว่า การเขียน

เมื่อรวมกันแล้ว จึงมีความหมายตรงตัวว่า การวาดภาพด้วยแสง

4ข้อมูลจาก http://th.wikipedia.org/wiki/การถ่ายภาพ

Page 5: Images Digitization with Digital Photography

การถ่ายภาพดิจิทัลคืออะไร?

การถ่ายภาพดิจิทัล (Digital Photography) คือ กระบวนการ

ถ่ายภาพที่ไม่ใช้ฟิล์ม เป็นการใช้กล้องถ่ายภาพดิจิทัล ในการรับ

และแปลงสัญญาณภาพ ให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล ที่จะถูกบันทึกใน

สื่อเก็บข้อมูลของกล้อง ที่สามารถถ่ายโอน ปรับแต่ง และบันทึก

ลงในสื่อบันทึกของเครื่องคอมพิวเตอร์

5

Page 6: Images Digitization with Digital Photography

กล้องถ่ายภาพระบบดิจิทัลคืออะไร?

กล้องถ่ายภาพดิจิทัล (Digital Camera)

คือ กล้องถ่ายภาพ ที่ใช้สื่อเก็บข้อมูล

อิเล็กทรอนิกส์ในการจัดเก็บภาพ

โดยข้อมูลภาพที่ถูกจัดเก็บนั้นจะอยู่

ในรูปแบบไฟล์ดิจิทัล

6

Page 7: Images Digitization with Digital Photography

7

กล้องฟิล์ม vs กล้องดิจิทัลการเปรียบเทียบ กล้องฟิล์ม กล้องดิจิทัล

จํานวนภาพ ประมาณ 36 - 38 ภาพต่อ

ฟิล์ม 1 ม้วน ไม่สามารถย้อน

ไปใช้งานใหม่ได้

ขึ้นอยู่กับขนาดของหน่วยความจํา

และขนาดภาพที่บันทกึ สามารถ

ลบภาพที่ไม่ต้องการออกได้

การตรวจเช็คภาพ ต้องนําไปล้าง/อัดก่อน ตรวจเช็คภาพได้จากกลอ้ง

การใช้งานในรูปแบบ

ดิจิทัล

ต้องนําไปสแกนเป็นภาพ

ดิจิทัล

บันทึกภาพเป็นข้อมูลดิจิทลัจาก

กล้อง

ค่าใช้จ่าย ต้องเสียค่าฟิล์ม ค่าล้างฟิล์ม

อัดภาพหรือสแกนภาพ

หน่วยความจํามีราคาลดลง มี

ขนาดใหญ่ขึ้น บันทึกภาพได้มาก

ขึ้น อาจจะมีค่าอัดภาพ

Page 8: Images Digitization with Digital Photography

ประเภทของกล้องถ่ายภาพดิจิทัล

กล้องถ่ายภาพดิจิทัล แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คือ

8

1. กล้องถ่ายภาพแบบ

Point and Shoot 3. กล้องถ่ายภาพแบบ

Digital SLR

2. กล้องถ่ายภาพแบบ

Digital SLR Like

Page 9: Images Digitization with Digital Photography

Point and Shoot Digitial Camera (Consumer)

เป็นกล้องที่ไม่สามารถเปลี่ยนเลนส์ได้

การออกแบบของกล้องเปน็แบบเรียบง่าย

น้ําหนักเบา ราคาถูก บางรุ่นอาจมี

คุณสมบัติพิเศษ เช่น ระบบป้องกันการสั่น

ไหว ช่องมองภาพ และจอ LCD แยกออก

จากตัวกล้อง

9

Page 10: Images Digitization with Digital Photography

Data from Peter Liu – Digital Photography http://www.slideshare.net/peterliu47/digital-photography-i

10

Point-and-shoot Anatomy

Viewfinder separate from lens (better to use LCD on digital)

Actual image (as exposed) is not quite the same as in the viewfinder

Much simpler design than SLRs.

Light Path

Lens

Camera Body

Viewfinder

(front)

Shutter

Sensor or Film

Viewfinder

Focal Length

LCD Screen

(Digital)

Page 11: Images Digitization with Digital Photography

Digital SLR Like Camera (Prosumer)

11

เป็นกล้องที่มีลักษณะผสมกันระหว่าง

กล้อง Compact และกล้อง SLR ไม่

สามารถเปลี่ยนเลนส์ได้ แต่สามารถ

ปรับแต่งค่าต่างๆ ได้มาก และละเอียด

กว่ากล้อง Compact บางรุ่นมีโหมดการ

ถ่ายภาพ และการปรับแต่งเหมือนกล้อง

SLR เพียงแค่ไม่สามารถเปลี่ยนเลนส์ได้

เท่านั้น

Page 12: Images Digitization with Digital Photography

Digital SLR Camera (DSLR)

12

เป็นกล้องที่สามารถถอดเปลี่ยนเลนส์ได้

มีช่องมองภาพ ที่สามารถมองภาพผ่าน

เลนส์ได้เหมือนกับภาพที่ตกกระทบบน

อุปกรณ์รับแสง (Camera Sensor) ของ

กล้องถ่ายภาพ ในปัจจุบัน กล้องบางรุ่นมี

ระบบ Live View ที่ช่วยให้สามารถมอง

ภาพผ่านจอ LCD ที่ติดมากับกล้องได้

Page 13: Images Digitization with Digital Photography

13

SLR Anatomy

Through-the-lens (TTL) viewing (works like a periscope)

Actual image (as exposed) is shown in the viewfinder

Mirror flips up when the shutter release is pressed, exposing the sensor (and blacking out the

viewfinder)

“Reflex” comes from the use of the mirrors in the viewfinder system

Light Path

Lens

Camera Body

Focusing Screen

Mirror (Pentaprism)

Mirror

(flips up)Shutter

Sensor or Film

Viewfinder

Focal Length

LCD Screen

(Digital)

Data from Peter Liu – Digital Photography http://www.slideshare.net/peterliu47/digital-photography-i

Page 14: Images Digitization with Digital Photography

อุปกรณ์รับแสงในกล้องถ่ายภาพดิจิทัล

อุปกรณ์รับแสงในกล้องถ่ายภาพดิจิทัล (Image Sensor) คือ อุปกรณ์ที่

ทําหน้าที่ในการรับแสงที่ผ่านจากเลนส์ แล้วแปลงค่าของแสงให้เป็น

ประจุไฟฟ้า จากนั้นประจุไฟฟ้าที่อยู่ในรูปแบบแอนะล็อก จะได้รับการ

แปลงให้เป็นข้อมูลในรูปแบบดิจิทัล เพื่อบันทึกเข้าสู่หน่วยความจํา

14

Data from http://202.44.14.13/krugong/teachPhoto/DigitalPhoto/กล้องดิจิตอล.ppt

Page 15: Images Digitization with Digital Photography

“Photosite” ผู้เปลี่ยนแสงเป็นไฟฟ้า

ใน Image sensor จะประกอบด้วยชิพขนาดเล็กมายมาย ภายในชิพจะ

บรรจุไดโอดไวแสง (Photosite) ที่ทําหน้าที่ในการรับรู้ถึงปริมาณแสง

และสร้างสัญญาณกระแสไฟฟ้า เพื่อส่งให้หน่วยประมวลผล นําไปใช้ใน

การแปลงข้อมูลสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นข้อมูลภาพดิจิทัล

15

Data from http://dtv.mcot.net/mcot_one.php?dateone=1244772701

Page 16: Images Digitization with Digital Photography

“Photosite” กับคุณภาพของภาพ

16

Data from http://dtv.mcot.net/mcot_one.php?dateone=1244772701

Page 17: Images Digitization with Digital Photography

ขนาดของ Image Sensor และ Crop factor

17

Data from http://www.fotografiadiaria.org/fd/articulos/46-articulos-originales/65-tipos-de-formatos-en-camaras-fotograficas

Page 18: Images Digitization with Digital Photography

ชนิดของอุปกรณ์รับแสงในกล้องถ่ายภาพดิจิทัล

อุปกรณ์รับแสงที่ใช้กันทั่วไปในกล้องดิจิทัลแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

1. CCD (Charge Couple Device)

2. CMOS (Complementary Metal Oxide Semiconductor)

18

Page 19: Images Digitization with Digital Photography

CCD (Charge Couple Device)

19

CCD เป็น Sensor ที่ทํางานโดยส่วนที่

เป็น Sensor แต่ละพิกเซล จะทําหน้าที่

รับแสง จากนั้นจึงเปลี่ยนค่าแสงเป็น

สัญญาณอนาล็อก เพื่อส่งเข้าสู่วงจร

เปลี่ยนค่าอนาล็อกเปน็สัญญาณดิจิตอล

อีกที

Page 20: Images Digitization with Digital Photography

CMOS (Complementary Metal Oxide Semiconductor)

20

CMOS เป็นเปน็ Sensor ที่มีลักษณะการ

ทํางานโดยแต่ละพิกเซลจะมีวงจรย่อยๆ

เปลี่ยนค่าแสงที่เข้ามาเปน็ สัญญาณ

ดิจิตอลในทันที ไม่ต้องส่งออกไปแปลง

เหมือน CCD

Page 21: Images Digitization with Digital Photography

21

Compact Flash SD MiniSD xD

MultiMediaCard RS-MMC

(Reduced-Size

MultiMediaCard)

SmartMedia Memory Stick

หน่วยความจํา

Page 22: Images Digitization with Digital Photography

ระบบชดเชยการสั่นไหว เป็นคุณสมบัติของกล้องรุ่นใหม่ ที่มี

ความสามารถในการแก้ไขปัญหาการเบลอของภาพ อัน

เนื่องมาจากการสั่นไหวเล็กน้อยในขณะถ่ายภาพ ซึ่งระบบนี้

จะมีประโยชน์มากต่อการถ่ายภาพในสถานการณ์ที่มีแสง

น้อย หรือการถ่ายภาพโดยใช้เลนส์เทเล

ระบบชดเชยการสั่นไหว

22

Page 23: Images Digitization with Digital Photography

ระบบชดเชยการสั่นไหวจะมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามแต่ละยี่ห้อ

ของกล้อง ดังต่อไปนี้

• Nikon – VR – Vibration Reduction

• Canon – IS – Image Stabilization

• Pentax – SR – Shake Reduction

• Sony – SSS – Super Steady-Shot

ระบบชดเชยการสั่นไหว (ต่อ)

23

Page 24: Images Digitization with Digital Photography

24

Exposure

Exposure หมายถึง ปริมาณแสงที่ฟิล์มหรือเซ็นเซอร์ได้รับ โดย

จะมีค่าเป็น EV (Exposure Value) ซึ่งปัจจัยในการกําหนด

ปริมาณของแสงมี 3 ปัจจัย คือ

1. ขนาดของรูรับแสง (Aperture)

2. ความเร็วของการเปิด/ปิดชัตเตอร์ (Shutter Speed)

3. ความไวแสงของเซ็นเซอร์รับภาพ (ISO)

Page 25: Images Digitization with Digital Photography

25

Exposure

Source - ALEXANDRA COPLEY, DIGITAL PHOTOGRAPHY FUNDAMENTALS

Page 26: Images Digitization with Digital Photography

26

ขนาดของรูรับแสง (Aperture)

ความกว้างของม่านชัตเตอร์ ที่ทําหน้าที่ในการควบคุมปริมาณ

แสงที่ส่องผ่านเลนส์ เข้าไปสู่ Image Sensor โดยขนาดความ

กว้างจะแทนค่าด้วยตัวเลข ตัวเลขมาก/รูเล็ก ตัวเลขน้อย/รูกว้าง

Source - Memorial University, Introduction to Digital Photography

Page 27: Images Digitization with Digital Photography

27

ระยะเวลาในการเปิด/ปิดชัตเตอร์ (Shutter Speed)

ระยะเวลาที่ม่านชัตเตอร์เปิดรับแสงเข้าสู่ Image Sensor เพื่อ

ใช้ในการบันทึกภาพ ซึ่งระยะเวลาในการเปิด/ปิดชัตเตอร์ ถูกใช้

ในการสร้างภาพในลักษณะต่อไปนี้

• เปิดและปิดในระยะเวลาสั้นๆ จะเป็นการหยุดการ

เคลื่อนไหวของวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่

• เปิดและปิดในระยะเวลานาน เป็นการสร้างความนุ่มนวล

ต่อเนื่อง และใช้ในการบันทึกภาพในสภาวะแสงน้อย

Page 28: Images Digitization with Digital Photography

28

ความไวแสงของเซ็นเซอร์รับภาพ (ISO)

• ตัวเลขที่แทนค่าความไวแสงของฟิล์มหรือเซ็นเซอร์รับภาพ

ตัวเลข ISO น้อย จะไวแสงน้อย ตัวเลข ISO มาก จะไวแสงมาก

ISO มีค่าเป็น 50, 100, 200, 400, 800, 1600, 3200, 6400

• ค่า ISO มากจะไวแสงมาก ใช้ถ่ายในสภาวะแสงน้อยได้ดี แต่

จะมีสัญญาณรบกวน (Noise) เกิดขึ้นในภาพ

Page 29: Images Digitization with Digital Photography

29

ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วชัตเตอร์กับรูรับแสง

Page 30: Images Digitization with Digital Photography

30

Depth of Field

• Depth of Field (DOF) คือ ขอบเขตความชัดในภาพ อ้างอิง

จากจุดโฟกัส ถ้าขอบเขตความชัดในภาพน้อย เรียกว่า “ชัดตื้น”

ถ้าขอบเขตความชัดในภาพมาก เรียกว่า “ชัดลึก”

• Depth of Field เป็นสิ่งที่ช่างภาพใช้ในการควบคุม หรือ

กําหนดขอบเขตของจุดสนใจในภาพ

Page 31: Images Digitization with Digital Photography

31

White Balance

White Balance หรือที่หลายคนเรียกว่า “สมดุลแสงสีขาว” คือ

คุณสมบัติของกล้องถ่ายภาพ ที่ใช้ในการปรับสมดุลของแสง

หรือสภาพแสง ที่กล้องถ่ายภาพรับรู้ ให้มีสีที่ถูกต้อง ตรงกับ

สภาพแสงจริง ณ ขณะนั้น

Page 32: Images Digitization with Digital Photography

32

Type of camera shot

1. ระยะ (Distance)

Extreme long shot, Very long shot, Long shot,

Medium long shot, Medium shot, Medium close

up, Close up shot, Big close up

2. มุมกล้อง (Angle)

Eye level angle, High angle, Low angle

3. มุมมองภาพ (Point of view)

Objective shot, Subjective shot

Page 33: Images Digitization with Digital Photography

33

Extreme Long Shot (ELS, XLS) เป็นช็อตระยะไกลที่จะแสดง

ให้เห็นภาพรวมของทั้งภาพ บอกผู้ดูว่าบคุคลหลักของภาพนั้นอยู่ที่

ไหน มีขนาดและมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมในภาพอย่างไร

Distance: Extreme long shot

Page 34: Images Digitization with Digital Photography

34

Very Long Shot (VLS) เป็นช็อตที่บุคคลหลักในภาพ จะมีขนาด

ประมาณ 3/4 - 1/3 ของความสูงของภาพ ซึ่งภาพในลักษณะนี้ จะ

แสดงทั้งสภาพแวดล้อม และรายละเอียดของบุคคลคนนั้นมากขึ้น

Distance: Very long shot

Page 35: Images Digitization with Digital Photography

35

Long Shot (LS) หรือ Full Shot เป็นช็อตที่จะแสดงให้เห็นรายละเอียดของ

บุคคลหลักของภาพมากขึ้นกว่า Very Long Shot โดยจะแสดงรูปร่างทั้งหมด

ของบุคคลคนนั้น และจะต้องมีพื้นที่ว่างเหนือและใต้บุคคลนั้นด้วย

Distance: Long shot

Page 36: Images Digitization with Digital Photography

36

Medium Long Shot (MLS) หรือ Knee Shot เป็นช็อตที่จะมีขนาดของบุคคล

หลักเป็น 3/4 ส่วนของขนาดจริง ซึ่งจะเป็นการถ่ายภาพตัดจากใต้หัวเข่าของบุคคล

ไปจนถึงศรีษะโดยจะต้องมีช่องว่างเหนือศรีษะของคนๆ นั้นด้วย

Distance: Medium long shot

Page 37: Images Digitization with Digital Photography

37

Medium Shot (MS) เป็นช็อตที่ถ่ายตั้งแต่ใต้เอวของบุคคลหลักของภาพนั้น ขึ้น

ไปจนถึงศรีษะ และยังคงต้องมีพื้นที่ว่างเหนือศรีษะของบุคคลนั้นเช่นเดิม

Distance: Medium shot

Page 38: Images Digitization with Digital Photography

38

Medium Close Up (MCU) หรือ Bust Shot เป็นช็อตที่ถ่ายตั้งแต่ใต้

รักแร้ของบุคคลหลักของภาพนั้น ขึ้นไปจนถึงศรีษะ และยังคงต้องมีพื้นที่

ว่างเหนือศรีษะเช่นเดิม

Distance: Medium close up shot

Page 39: Images Digitization with Digital Photography

39

Close Up (CU) เป็นช็อตที่ถ่ายตั้งแต่บริเวณใต้ลําคอ หรือถ้าเป็น

ผู้ชายก็คือใต้ปมเนคไทของบุคคลหลักของภาพนั้น ขึ้นไปจนถึงศรีษะ

Distance: Close up shot

Page 40: Images Digitization with Digital Photography

40

Big Close Up (BCU) เป็นช็อตที่ถ่ายบริเวณบางส่วนของใบหน้าของ

บุคคลหลักในภาพ ส่วนใหญ่จะเริ่มตั้งแต่บริเวณกลางหน้าผากลงมา

จนถึงเหนือคาง

Distance: Big close up shot

Page 41: Images Digitization with Digital Photography

41

ความสูงระดับสายตา (Eye level angle) เป็นการวางระดับความ

สูงของกล้องในระดับสายตาของบุคคลที่เป็นจุดสนใจ ภาพที่ได้จะ

เป็นธรรมชาติ เหมือนจริง

Angle: Eye level angle

Page 42: Images Digitization with Digital Photography

42

ความสูงระดับเหนือศรีษะ (High angle) เป็นการวางระดับความสูงของกล้อง

ในระดับเหนือศรีษะของบุคคลที่เป็นจุดสนใจ ภาพที่ได้จะแตกต่างจากภาพ

จริง คือ จะมีศรีษะใหญ่กว่าเท้า ตัวสั้น ดูอ่อนแอ ไม่มีพลัง

Angle: High angle

Page 43: Images Digitization with Digital Photography

43

ความสูงระดับต่ํากว่าศรีษะ (Low angle) เป็นการวางระดับความสูงของ

กล้อง ในระดับต่ํากว่าศรีษะของบุคคลที่สนใจ หรือถ่ายย้อนขึ้นไปทางด้านบน

ภาพที่ได้ จะไม่เป็นธรรมชาติ บุคคลในภาพจะดูมีพลังมากขึ้น

Angle: Low angle

Page 44: Images Digitization with Digital Photography

44

มุมมองของบุคคลที่สาม (Objective Shot) เป็นมุมกล้องของการมองจาก

บุคคลภายนอกไปยังบุคคลหลักในภาพ

Point of view: Objective shot

Page 45: Images Digitization with Digital Photography

45

มุมมองของบุคคลเป้าหมาย (Subjective shot) เป็นมุมกล้องของการมอง

จากบุคคลเป้าหมายในภาพ เป็นการบอกกับผู้ดูว่าคนๆ นั้นกําลังมองอะไรอยู่

Point of view: Subjective shot

Page 46: Images Digitization with Digital Photography

46

การจัดองค์ประกอบภาพ (Photo Composition) คือ เทคนิคใน

การจัดวางจุดสนใจ (Subject) และส่วนประกอบอื่นๆ ในภาพเพื่อให้

ภาพนั้นน่าสนใจ และสามารถสื่อความหมายตามที่ผู้ถ่ายภาพต้องการ

นอกจากนั้น การจัดองค์ประกอบภาพยังหมายรวมถึง การเลือก

มุมมองภาพ (Point of View) ที่เหมาะสม

การจัดองค์ประกอบภาพ

Page 47: Images Digitization with Digital Photography

47

• ในภาพจะต้องมีจุดสนใจหลักอยู่

หนึ่งจุดเสมอ

• อาจจะมีจุดสนใจอื่นประกอบ

อยู่ แต่จะต้องไม่เด่นไปกว่า จุด

สนใจหลัก

กฎข้อที่ 1 กําหนดจุดสนใจหลักในภาพ

Page 48: Images Digitization with Digital Photography

48

กฎข้อที่ 2 หลีกเลี่ยงการวางตําแหน่งของจุดสนใจหลักไว้กลางภาพ

- ถ้าจุดสนใจอยู่กลางภาพจะทําให้

รู้สึกนิ่ง ไม่น่าสนใจ

- ใช้กฎ Rule of Third ช่วยใน

การกําหนดตําแหน่งในการวาง

จุดสนใจ

Page 49: Images Digitization with Digital Photography

49

หลังจากที่กําหนดจุดสนใจในภาพ

แล้วให้เดินรอบๆ จุดสนใจนั้น เพื่อหา

มุมมองที่น่าสนใจสําหรับการ

ถ่ายภาพ

กฎข้อที่ 3 เลือกมุมกล้องที่เหมาะสม

Page 50: Images Digitization with Digital Photography

50

การถ่ายภาพแบบ Close-up จะทํา

ให้เกิดความรู้สึกใกล้ชิด เหมือนกับ

ว่าผู้ดูอยู่ในเหตุการณ์ขณะนั้น เป็น

การเน้นจุดสนใจ และขจัดส่วน

อื่นๆ ที่ไม่ต้องการออกจากภาพ

กฎข้อที่ 4: ถ่ายภาพ Close Up เพื่อเน้นจุดสนใจ

Page 51: Images Digitization with Digital Photography

51

ใช้องค์ประกอบที่มีลักษณะเป็นเส้น ทั้ง

เส้นตรง และเส้นโค้ง เช่น ถนน ลําของ

แสงแดด ช่วยนําสายตาผู้ชมไปที่จุดสนใจ ทํา

ให้เราสามารถเน้นจุดสนใจของภาพได้

กฎข้อที่ 5 ใช้เส้นนําสายตาเพื่อดึงความสนใจ

Page 52: Images Digitization with Digital Photography

52

พยายามหลีกเลี่ยงการถ่ายภาพที่มีพื้นหลัง

ที่มีลักษณะยุ่งเหยิงซับซ้อน มีลวดลาย

เยอะจนเป็นการรบกวนจุดสนใจ ซึ่งการ

หลีกเลี่ยงสามารถทําได้โดยการเปลี่ยนมุม

กล้อง หรือการใช้เทคนิคการควบคมุ

ความชัดลึก (Depth of Field) ของภาพ

กฎข้อที่ 6: หลีกเลี่ยงฉากหลังที่ยุ่งเหยิง

Page 53: Images Digitization with Digital Photography

53

ใช้องค์ประกอบแวดล้อม เช่น กรอบ

ประตู, หน้าต่าง, ต้นไม้ หรือกิ่งไม้ ใน

การสร้างกรอบภาพธรรมชาติ เพื่อ

กําหนดกรอบการมองไปยังจุดสนใจใน

ภาพ และสร้างมิติให้เกิดความลึกใน

ภาพ

กฎข้อที่ 7: ใช้เฟรมกําหนดกรอบความสนใจและสร้างความลึกของภาพ

Page 54: Images Digitization with Digital Photography

54

ในการถ่ายภาพที่มีการเคลื่อนไหว

เช่น รถวิ่ง, ภาพกีฬา จะต้องจับ

จังหวะที่เหมาะสมของภาพการ

เคลื่อนที่นั้นๆ

กฎข้อที่ 8: ถ่ายภาพเคลื่อนไหวในจังหวะที่เหมาะสม

Page 55: Images Digitization with Digital Photography

55

ขอบคุณครับ