Top Banner
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์ ) รายวิชา 30249 มัลติมีเดีย (Multimedia) สาระการเรียนรูมัลติมีเดีย คือ การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับโปรแกรมซอฟต์แวร์ในการสื่อความหมายโดยการผสมผสานสื่อหลายชนิด เช่น ข้อความ กราฟิก ( Graphic) ภาพเคลื่อนไหว ( Animation) เสียง (Sound) และวีดิทัศน์ (Video) เป็นต้น และถ้าผู้ใช้สามารถทีจะควบคุมสื่อให้นาเสนอออกมาตามต้องการได้จะเรียกว่า มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ ( Interactive Multimedia) การปฏิสัมพันธ์ ของผู้ใช้สามารถจะกระทาได้โดยผ่านทางคีย์บอร์ด ( Keyboard) เมาส์ (Mouse) หรือตัวชี(Pointer) การใช้มัลติมีเดียในลักษณะ ปฏิสัมพันธ์ก็เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเรียนรู้หรือทากิจกรรม รวมถึงดูสื่อต่าง ๆ ด้วยตนเอง สื่อต่าง ๆ ที่นามารวมไว้ในมัลติมีเดีย เช่น ภาพ เสียง วีดิทัศน์ จะช่วยให้เกิดความหลากหลาย ชาน่าสนใจ และเร้าความสนใจ เพิ่มความสนุกสนานในการเรียนรู้มาก ยิ่งขึ้น วันและเวลาเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท4 : วันพุธ คาบ 1-2 เวลา 08.40 10.20 . ชั้นมัธยมศึกษาปีท5 : วันจันทร์ คาบ 3-4 เวลา 10.25 12.05 . โปรแกรมที่ใช้ในการเรียน Adobe Premiere Pro CS6 เหมาะสาหรับ ผู้ที่สนใจการสร้างงานมัลติมีเดียจากโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS6 ผู้สอน นายณัฐกานต์ เมยเค้า อาจารย์ประจาวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์ ) นางสาวนลิน คาแน่น นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
5

Course Syllabus มัลติมีเดีย

Jul 23, 2015

Download

Education

Nalin K
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: Course Syllabus มัลติมีเดีย

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร)์

รายวิชา

ง 30249 มัลติมีเดีย (Multimedia)

สาระการเรียนรู้

มัลติมีเดีย คือ การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับโปรแกรมซอฟต์แวร์ในการสื่อความหมายโดยการผสมผสานสื่อหลายชนิด เช่น ข้อความ กราฟิก (Graphic) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง (Sound) และวีดิทัศน์ (Video) เป็นต้น และถ้าผู้ใช้สามารถที่จะควบคุมสื่อให้น าเสนอออกมาตามต้องการได้จะเรียกว่า มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ ( Interactive Multimedia) การปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้สามารถจะกระท าได้โดยผ่านทางคีย์บอร์ด (Keyboard) เมาส์ (Mouse) หรือตัวชี้ (Pointer) การใช้มัลติมีเดียในลักษณะปฏิสัมพันธ์ก็เพ่ือช่วยให้ผู้ใช้สามารถเรียนรู้หรือท ากิจกรรม รวมถึงดูสื่อต่าง ๆ ด้วยตนเอง สื่อต่าง ๆ ที่น ามารวมไว้ในมัลติมีเดีย เช่น ภาพ เสียง วีดิทัศน์ จะช่วยให้เกิดความหลากหลาย ชาน่าสนใจ และเร้าความสนใจ เพ่ิมความสนุกสนานในการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น

วันและเวลาเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 : วันพุธ คาบ 1-2 เวลา 08.40 – 10.20 น. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 : วันจันทร์ คาบ 3-4 เวลา 10.25 – 12.05 น.

โปรแกรมท่ีใช้ในการเรียน

Adobe Premiere Pro CS6

เหมาะส าหรับ

ผู้ที่สนใจการสร้างงานมัลติมีเดียจากโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS6

ผู้สอน

นายณัฐกานต์ เมยเค้า

อาจารย์ประจ าวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)

นางสาวนลิน ค าแน่น

นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Page 2: Course Syllabus มัลติมีเดีย

จุดประสงค์รายวิชา

1. เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับงานมัลติมีเดีย (K)

2. เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับพ้ืนฐานโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS6 (K)

3. เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหวจากภาพนิ่งและการสร้างงานมัลติมีเดียจาก

โปรแกรม Adobe Premiere Pro CS6 (K)

4. เพ่ือให้นักเรียนมีทักษะในการใช้โปรแกรม Adobe Premiere Pro CS6 (P)

5. เพ่ือให้นักเรียนสามารถสร้างชิ้นงานมัลติมีเดียจากโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS6 ได้ (P)

6. เพ่ือให้นักเรียนมีความตระหนักรู้ในการใช้งานคอมพิวเตอร์และสามารถนาไปประยุกต์ใช้งานและแก้ไขปัญหาที่พบใน

ชีวิตประจ าวันได้ (A)

วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. การบรรยายประกอบการสาธิต 2. การใช้ค าถามในการทดสอบความรู้ของผู้เรียน 3. การท าใบงาน 4. การฝึกปฏิบัติงานโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ 5. การสร้างชิ้นงานมัลติมีเดียรายบุคคล

สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการเรียน 2. โปรแกรม Adobe Premiere Pro CS6 3. Power Point ประกอบการเรียน 4. ตัวอย่างผลงาน

Page 3: Course Syllabus มัลติมีเดีย

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา(คาบ) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ปฐมนิเทศ 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 - ปฐมนิเทศรายวิชา เนื้อหา และข้อตกลงเบื้องต้น หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดีย 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 - ความหมายของมัลติมีเดีย

- ลักษณะของงานมัลติมีเดีย - ความส าคัญของงานมัลติมีเดีย - ประโยชน์ของงานมัลติมีเดีย

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 รู้จักกับโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS6 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 - ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS6

- เริ่มต้นการใช้งานโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS6 - ส่วนประกอบของโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS6

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เริ่มต้นงานวิดีโอด้วย Story Board 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 - Story Board คืออะไร?

- หลักการเขียน Story Board - ขั้นตอนการท า Story Board

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การสร้างพ้ืนที่การท างานตัดต่อวิดีโอ 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 - การสร้างพื้นที่ท างานกับรูปแบบงานวิดีโอ

- การก าหนดรูปแบบของพ้ืนที่ท างาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การน าวิดีโอหรือภาพมาใช้งาน และการตัดต่อวิดีโอ 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 - การ Import ไฟล์วิดีโอ

- การ Import ไฟล์รูปภาพ - Timeline คืออะไร - การเรียบเรียงวิดีโอบน Timeline - การปรับความเร็วของวิดีโอ - การแทรกคลิปพิเศษต่างๆ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างความต่อเนื่องของงานด้วย Transition 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 - Transition คืออะไร?

- รูปแบบของ Transition

Page 4: Course Syllabus มัลติมีเดีย

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา(คาบ) หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เพิ่มความน่าสนใจของงานด้วยเสียง 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 - ประเภทของเสียงที่ใช้ได้ในงานวิดีโอ

- การจัดการกับเสียง หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การแทรกข้อความบนงานวิดีโอ 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 - การสร้างข้อความแสดงบนวิดีโอ

- การสร้างข้อความเคลื่อนไหว หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 การบันทึกและการเผยแพร่งานมัลติมีเดีย 2 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 - การเผยแพร่ผลงานบนเว็บไซต์YouTube

- การสมัครใช้งานและเผยแพร่วิดีโอ บนเว็บ - การส่งไฟล์งานใน YouTube

หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 Project 6 คาบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 - การสร้างชิ้นงานมัลติมีเดีย

การประเมินผล ลักษณะของวิชา 30249 มัลติมีเดีย เป็นวิชาที่เน้นการปฏิบัติ ดังนั้นการประเมินผลจึงเป็นการให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ก าหนด โดยตรวจสอบการท างานของนักเรียนในขณะที่ปฏิบัติกิจกรรมและชิ้นงานที่ท าส าเร็จ โดยมีอัตราส่วนการประเมินแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี ้ ส่วนที่ 1 ชิ้นงานที่ปฏิบัติในแต่ละคาบ (ส่วนของคะแนนเก็บ 60 %) ส่วนที่ 2 พฤติกรรมนักเรียน (ส่วนของคะแนนพฤติกรรม 10%) ส่วนที่ 3 คะแนนงานโครงงาน (Project) (ส่วนของคะแนนสอบปลายภาค 30%)

การวัดและประเมินผล คะแนน ส่วนที่ 1 ชิ้นงานที่ปฏิบัติในแต่ละคาบ 1. การปฏิบัติงานและชิ้นงาน

60 คะแนน

ส่วนที่ 2 พฤติกรรมนักเรียน 1. การเข้าเรียน 2. การแต่งกาย,ความสนใจในการเรียน,พฤติกรรม

5 คะแนน 5 คะแนน

ส่วนที่ 3 คะแนนงานโครงงาน (Project) 1. รายงานความคืบหน้าครั้งท่ี 1 2. รายงานความคืบหน้าครั้งท่ี 2 3. การน าเสนองานโครงงาน (Project)

5 คะแนน 5 คะแนน 20 คะแนน

Page 5: Course Syllabus มัลติมีเดีย

เกณฑ์การผ่านการประเมิน: มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 80

ช่วงคะแนน เกรด ช่วงคะแนน เกรด 100-80 4 60-64 2 75-79 3.5 55-59 1.5 70-74 3 50-54 1 65-59 2.5 0-49 0