Top Banner
บทที 11 การลางฟลมและการอัดขยายภาพขาวดํ (ที ่มา : สุภาณี กอสุวรรณศิริ . 2531 : 51)
18

chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Apr 10, 2015

Download

Documents

api-3856482
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

บทท่ี 11การลางฟลมและการอัดขยายภาพขาวดํ า

(ท่ีมา : สุภาณี กอสุวรรณศิริ. 2531 : 51)

Page 2: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

103

11.1 หองมืดและอุปกรณ

หองมืด หมายถึง หองท่ีใชปฏิบัติการลางฟลมและอัดขยายภาพ รวมทั้งเปนที่เก็บอุปกรณ น้ํ ายาเคมีท่ีจํ าเปนตองใช ตลอดจนมีเคร่ืองอํ านวยความสะดวกในขณะปฏิบัติงานลางฟลมและอัดขยายภาพ ภายในหองจะมืดสนิท แสงจากภายนอกหองไมสามารถเขามารบกวนภายในหองไดในขณะปฏิบัติงาน หองมีขนาดใหญพอท่ีเก็บอุปกรณ สารเคมี และปฏิบัติงานได

ภาพท่ี 11.1 แสดงภาพหองมืด (ที่มา : Birnbaum. 1985 : 11)

Page 3: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

104

หองมืดควรมขีนาด 2 × 3 ตารางเมตรเปนอยางนอย แตก็มีนักถายภาพบางคนใชพ้ืนที่ใตบันไดบาน มาดัดแปลงเปนหองมืดซ่ึงคับแคบไปสักนิด แตก็พอจะใชสอยได เมื่อไมมีที่อื่นที่ดีกวา

ในการจัดหองมืดน้ัน นิยมแบงหองออกเปนสองโซน (Zone) ซึ่งเปนสวนที่แหง (DryZone) จะเปนสวนท่ีวางเคร่ืองอัดขยายภาพ ทํ าการอัดภาพและงานอ่ืน ๆ ที่ไมเกี่ยวกับงานลางฟลมหรือลางกระดาษที่ตองใชสารเคมีและนํ้ าสวนท่ีสองเปนสวนท่ีเปยก (Wet Zone) จะเก่ียวของกับการใชน้ํ ายาเคมี น้ํ าชะลางตาง ๆ บริเวณท่ีใชเก็บสารเคมี

หองมืดที่ดีควรมีคุณสมบัติ ดังน้ี1. มีความมืดสนิท แสงจากภายนอกไมสามารถเขามารบกวน

ในขณะปฏิบัติงานได2. มีความสะอาด เปนระเบียบ3. อากาศถายเทไดสะดวก ปรับอากาศดวยจะดีมาก4. ขนาดของหองกวางเพียงพอในการปฏิบัติงาน5. มีระบบน้ํ าใชและระบบไฟฟาที่ดี

11.1.1 อุปกรณในหองมืดที่ควรมี

ภาพท่ี : 11.2 แสดงภาพอุปกรณในหองมืด (ท่ีมา : สุมิตรา ขันตยาลงกต. 2534 : 61)

1. เคร่ืองอัดขยายภาพขาวดํ า (Enlarger) ครบชุด2. อีเซล (Easel)3. เซฟไลท (Safelight)

Page 4: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

105

4. อางน้ํ า5. นาฬิกาจับเวลา6. เทอรโมมิเตอร7. กระบอกตวงขนาด 1 ลิตร8. ถาดลางกระดาษ 3 ใบ9. แท็งคลางฟลม (Tank) พรอมรีล (Reel)

10. คลิบหนีบฟลม ปากคีบ ไมคนนํ้ ายา และขวดเปลาขนาดจุ 1 ลิตร

11.2 กระบวนการลางฟลมขาวดํ า

การลางฟลมขาวดํ า เปนกระบวนการทํ างานที่ไมยาก ทุกคนสามารถทํ าไดดวยตนเองโดยใชเวลาในการฝกฝนไมมากนัก เพียงเสียเวลาศึกษาและหมั่นสังเกตสักเล็กนอย ฟลมถายภาพเม่ือผานการถายเรียบรอยแลว สารเคมีไวแสงบนฟลมก็จะเขาทํ าปฏิกริยากับแสงท่ีลอดผานเลนสเขามา เนื่องจากแสงที่สะทอนวัตถุเขาสูเลนส มีความเขมมากนอยไมเทากัน ทํ าให ปฏิกริยาเคมีบนฟลมเกิดขึ้นมากนอยไมเทากันดวย สวนที่ถูกแสงเขมมาก (สวางมาก) ปฏิกริยาจะเกิดมากกวาสวนท่ีถูกแสงเขมนอย (สวางนอย) เมื่อกดไกชัตเตอรและกัตติกมาสปดลงแลว ปฏิกริยาก็หยุดลงในทันที ซ่ึงเปนการหยุดลงช่ัวคราวและสามารถดํ าเนินตอไปไดอีก หากมีแสงเขาไปกระตุน ดังนั้นฟลมแมจะผานการถายแลวจึงหามถูกแสงจนกวาจะผานกระบวนการลางฟลมเปนการหยุดปฏิกริยาของสารเคมีไวแสงบนฟลมอยางถาวร ดวยเหตุผลเดียวกันน้ี ทํ าใหสามารถถายภาพซอน ลงบนฟลมเฟรมเดิมไดหลายคร้ังกอนจะนํ าฟลมไปลางตอไป อันเปนเทคนิคการถายภาพซอนท่ีนิยมแบบหน่ึง

เมื่อถายภาพจนฟลมหมดมวนแลว ก็นํ าฟลมออกจากกลองถายภาพ เพื่อนํ าไปลางตอไป การลางฟลมจํ าเปนตองใชหองท่ีมืดสนิท อาจจะใชหองนํ้ าใตบันไดบาน มาดัดแปลงตกแตงใชเปนการเฉพาะกิจ และจัดหาอุปกรณท่ีจํ าเปนตองใชในการลางฟลมตอไป

11.2.1 อุปกรณสํ าหรับลางฟลมในการลางฟลมขาวดํ าน้ัน ตองใชอุปกรณดังตอไปน้ี

1. แท็งคลางฟลม2. รีล3. กรรไกร

Page 5: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

106

4. ที่แกะฟลม5. เทอรโมมิเตอร6. ฟองน้ํ าสํ าหรับเช็ดฟลม7. กระบอกตวง8. คลิบหนีบฟลม9. นาฬิกาจับเวลา

10. ชุดนํ้ ายาลางฟลม

11.2.2 การเลือกนํ้ ายาลางฟลมเนื่องจากนํ้ ายาสรางภาพ (Developer) มีหลายสูตรดวยกัน ผูผลิตฟลมหลาย

บริษัทตางคิดคนสูตรของตนเองออกมาจํ าหนาย เปนน้ํ ายาชนิดสูตรสํ าเร็จรูป ผูใชสามารถนํ ามาละลายน้ํ าแลวใชไดเลย เปนความสะดวกอยางหน่ึงแตมีราคาคอนขางแพง นอกจากน้ีในทองตลาดยังมีนํ้ ายาสรางภาพชนิดท่ีตองนํ ามาผสมเองจํ าหนาย เพื่อวาผูใชสามารถผสมนํ้ ายาสูตรปกติท่ัวไป หรือสูตรเฉพาะสํ าหรับฟลมท่ีถายมาไมถูกตอง หรือตองการผลพิเศษอ่ืน ๆ

สวนผสมของน้ํ ายาแตละสูตร มีสวนผสมของสารเคมีแตกตางกัน ทํ าใหเกิดผลตอฟลมแตกตางกันออกไปดวย จึงควรศึกษาผลเหลาน้ีจากบริษัทผูผลิต ตํ าราผูรู ตัวอยางสูตรน้ํ ายาสรางภาพ ไดแก Microdol - X , D - 76, ID - 11 เปนตน แตเน่ืองจากน้ํ ายาท่ีผสมเอง มีราคาถูกกวามาก และสามารถผสมตามความตองการของผูใชจึงมีผูนิยมจัดซื้อมาใชมาก

นอกจากขอควรนํ ามาพิจารณาดังกลาวขางตนแลว นักถายภาพยังตองคํ านึงถึงผลของน้ํ ายาสรางภาพที่มีตอเกรน (Grain) ของภาพ สีตัดกัน (Contrast) และความตอเน่ืองของโทน (Continuous Tone) คํ าแนะนํ าของผูผลิตเปนส่ิงท่ีควรคํ านึง โดยเฉพาะกับนักถายภาพมือใหม อยางไรก็ตามประสบการณจะเปนตัวปรับเปล่ียนข้ันตอนและวิธีการ ในกระบวนการลางฟลมใหแตกตางออกไปในแตละคน แตท้ังน้ีจะยังคงหลักการเดิมอยู

ในการใชน้ํ ายาสรางภาพสูตรของผูผลิตรายใดแลวก็ควรจะใชน้ํ ายาหยุดภาพและน้ํ ายาคงสภาพของบริษัทน้ันดวย เพือ่ใหกระบวนการลางฟลมเปนไปอยางสมบูรณ ทั้งนี้ไมไดหมายความวา ไมสามารถใชนํ้ ายาสูตรอ่ืน ๆ รวมกันได ในสวนของน้ํ ายาหยุดภาพและนํ้ ายาคงสภาพก็เชนกัน เราสามารถหาซ้ือไดท้ังชนิดท่ีเปนสูตรสํ าเร็จรูปและชนิดท่ีตองผสมเอง ซ่ึงอยางหลังราคาถูกกวามาก

Page 6: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

107

11.2.3 การผสมนํ้ ายาลางฟลมน้ํ ายาลางฟลม ไมวาจะเปนชนิดสูตรสํ าเร็จรูป หรือชนิดท่ีตองผสมเองสวนใหญท่ีมี

จํ าหนายในทองตลาด จะอยูในรูปของของแข็ง คือเปนผงหรือเปนเกล็ดอาจจะบรรจุในกระปองขวด กลองหรือถุง ถาเปนชนิดน้ํ าบรรจุในขวด และอาจเปนแบบช่ังกิโลขาย ถาเปนชนิดผสมเองเปนการสะดวกที่จะซื้อหามาเฉพาะตัวสารเคมีที่หมด

ในสวนของน้ํ ายาสํ าเร็จรูปน้ัน การเตรียมเพื่อที่จะใชงานกระทํ าไดงายโดยเพียงนํ าไปละลายน้ํ าตามคํ าแนะนํ าบนฉลากเทาน้ัน ตัวอยางน้ํ ายาสูตรสํ าเร็จรูป เชน Microdol - X หน่ึงกระปอง เมื่อผสมเสร็จจะไดนํ้ ายาสรางภาพ 5 ลิตร วิธีการผสมไดแนะนํ าอยูขางกระปองดังน้ีเทน้ํ าอุนท่ีมีอุณหภูมิ 50 ํ C หน่ึงลิตร ลงในภาชนะที่รองรับ ขนาดความจุไมนอยกวา 5 ลิตร คอยๆ เทผงน้ํ ายาลงทีละนอย พรอมทั้งคนนํ้ ายาไปดวย ตัวยาจะละลายทีละนอย ไมควรเทรวดเดียวหมดเพราะจะทํ าใหตัวน้ํ ายาจับกันเปนกอน เม่ือสังเกตเห็นวาตัวยาละลายในน้ํ าจนหมดใหเติมน้ํ าสะอาดลงไปอีก 4 ลิตร คนอีกสักครู เม่ือเห็นวาสารละลายเขากันดีแลวใหเทใสขวดเพ่ือเก็บไวใชตอไป

ภาพท่ี 11.3 แสดงวิธีเก็บขวดน้ํ ายาเคมีและถาดลางรูป(ที่มา : Vestel. 1982 : 92)

การผสมน้ํ ายาดวยตนเอง มีความยุงยากกวาเล็กนอย โดยตองช่ังสารเคมีทีละตัว และมีความเที่ยงตรงที่สุด ซ่ึงเปนไปตามสูตรของน้ํ ายาแตละชนิด วิธีการมีดังน้ี

เมื่อนักถายภาพตกลงใจที่จะเลือกนํ้ ายาสูตรใดแลว ใหเร่ิมดวยการเอาสารเคมีทุกตัวที่ตองใช มาวางเรียงกันใหครบตามสูตร ตอจากนั้นจึงเริ่มชั่งสารเคมีทีละตัว โดยเร่ิมจากตัวท่ีหน่ึง สอง สาม ไปจนกวาจะครบตามสูตร ในการชั่งนั้นตาชั่งจะตองวางไวในที่สงัดลม เพ่ือปองกันการฟุงกระจาย ตาช่ังท่ีเปนจานโลหะจะตองตัดกระดาษขาวใหญกวาจานเล็กนอยวางบนจานเพื่อปองกันการเกิดสนิม และสะดวกตอการยกเทและตองช่ังใหละเอียดเท่ียงตรงท่ีสุด ตอไปเทน้ํ า

Page 7: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

108

อุนตามปริมาตรที่สูตรกํ าหนด (อุณหภูมิของนํ้ าจะกํ าหนดมาให) ถาใชน้ํ าเย็นสารเคมีจะละลายชา เทน้ํ าอุนลงในกระบอกตวงขนาดความจุหน่ึงลิตร คอย ๆ เทสารเคมีตัวที่หนึ่งลงไปพรอมกับคนไปดวย เมื่อเห็นวาสารเคมีละลายหมดแลวจึงจะเทสารเคมีตัวที่สองลงไปแลวคนตอไป ทํ าเชนน้ีจนกวาจะครบทุกตัวตามสูตร เม่ือคนจนเขากันดีแลว ข้ันสุดทายเติมน้ํ าเย็นจนครบปริมาตร 1 ลิตร คนตอไปจนสารเคมีละลายเปนเน้ือเดียวกัน จึงจัดการเทใสขวดเพ่ือเก็บไวใชตอไป ขวดที่บรรจุควรเปนฝาเกลียวและเปนสีเขม เก็บไวอยางนอย 24 ชั่วโมงจึงจะนํ ามาใชลางฟลม อยาลืมเขียนช่ือสูตรน้ํ ายาและวันที่ผสมไวขางขวด

11.3 สูตรน้ํ ายาลางฟลมขาวดํ า

น้ํ ายาลางฟลมมีหลายสูตรดวยกัน บางสูตรก็เปนสูตรเฉพาะ เพื่อผลพิเศษเฉพาะกิจตอไปน้ีเปนตัวอยางสูตรน้ํ ายาลางฟลมที่ใชกันทั่วไป ใหเนื้อภาพละเอียด (Fine Grain) ใหสีตัดกันไมต่ํ าหรือสูงจนเกินไป มีนํ้ าหนักสีขาว เทา ดํ า สวยงามถูกตองตามความเปนจริง

น้ํ ายาสรางภาพ D - 76

1. น้ํ าอุน (ประมาณ 50 ํ C ) 750 ซี.ซี.2. METOL or ELON 2 กรัม3. SODIUM SULPHITE 100 กรัม4. HYDROQUINONE 5 กรัม5. BORAX 2 กรัม6. น้ํ าเย็น เติมใหครบ 1000 ซี.ซี.

จะไดน้ํ ายาสรางภาพหนึ่งลิตร ถาตองการมากกวาน้ีใหเพ่ิมตามอัตราสวน เทใสขวดเก็บไวอยางนอย 24 ชั่วโมง จึงจะนํ ามาใชได เรียกวา น้ํ ายาเก็บ (Stock Solution) เม่ือนํ ามาใชลางฟลมใหผสมน้ํ า 1 : 1 ท่ีอุณหภูมิ 20 ํ C โดยใชเวลาตามคํ าแนะนํ าของฟลมแตละชนิดประมาณ 9 - 11 นาที

น้ํ ายาสรางภาพ D - 11

1. น้ํ าอุน (ประมาณ 50 ํ C ) 750 ซี.ซี.

Page 8: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

109

2. METOL or ELON 1 กรัม3. SODIUM SULPHITE 75 กรัม4. HYDROQUINONE 9 กรัม5. SODIUM CARBONATE 25 กรัม6. POTASSIUM BROMIDE 5 กรัม7. น้ํ าเย็น เติมใหครบ 1000 ซี.ซี.ใชลางฟลมในแท็งค ใชเวลา 5 นาที ที่อุณหภูมิ 20 ํ C หรือลางฟลมในถาด ใช

เวลา 4 นาที เปนน้ํ ายาสรางภาพท่ีใหสีตัดกันสูง

น้ํ ายาสรางภาพ D - 72

1. น้ํ าอุน (ประมาณ 50 ํ C) 500 ซี.ซี.2. METOL or ELON 3 กรัม3. SODIUM SULPHITE 45 กรัม4. HYDROQUINONE 12 กรัม5. SODIUM CARBONATE 80 กรัม6. POTASSIUM BROMIDE 2 กรัม7. น้ํ าเย็น เติมใหครบ 1000 ซี.ซี.เปนน้ํ ายาเก็บสํ าหรับลางกระดาษและฟลม โดยท่ีลางกระดาษใหผสมน้ํ า 1 : 2

(น้ํ ายา : น้ํ า ) ถาลางฟลมผสมนํ้ า 1 : 1 ใชเวลาลางฟลม 4 นาที แตน้ํ ายาสรางภาพ D - 72 น้ีนิยมใชลางกระดาษ ซ่ึงสามารถลางกระดาษขนาดโปสการด ไดประมาณ 100 แผน น้ํ ายาท่ีผสมใหมท่ียังไมไดใช สามารถเก็บไดนานประมาณ 2 เดือน ในหองมืดและอุณหภูมิต่ํ า

น้ํ ายาหยุดภาพ SB - 1

1. น้ํ าเย็น 1000 ซี.ซี.2. กรดน้ํ าสม 28 % ( ACETIC ACID 28 %) 49 ซี.ซี.

ตวงนํ้ า 1000 ซี.ซี. แลวเติมกรดน้ํ าสม 28 % ลงไป 49 ซี.ซี. รินอยางชา ๆ แลวคนใหทั่ว เมื่อใชลางฟลมและกระดาษไมตองผสมนํ้ าอีก ใชปริมาณเทาท่ีตองการ โดยแชฟลมหรือกระดาษอัดขยายภาพในน้ํ ายาเปนเวลา 10 วินาที

Page 9: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

110

น้ํ ายาคงสภาพ F - 5

1. น้ํ าอุน 600 ซี.ซี.2. SODIUM THIOSULPHATE (HYPO) 240 กรัม3. SODIUM SULPHITE 15 กรัม4. กรดน้ํ าสม 28 % 48 ซี.ซี.5. BORIC ACID 7.5 กรัม6. POTASSIUM ALUM 15 กรัม6. น้ํ าเย็น เติมใหครบ 1000 ซี.ซี.ใชลางฟลมและกระดาษไดเลยโดยไมตองผสมน้ํ าอีก แชในนํ้ ายาน้ีเปนเวลา

10 นาที

น้ํ ายาคงสภาพ IF - 5

1. น้ํ าอุน 1000 ซี.ซี.2. SODIUM THIOSULPHATE (HYPO) 400 กรัม3. SODIUM METABISULPHITE 25 กรัมเปนน้ํ ายาคงสภาพที่ใชไดทั้งฟลมและกระดาษ ถาใชกับฟลมไมตองผสมนํ้ าใชเวลา

10 นาที ท่ีอุณหภูมิ 20 ํ C หากลางกระดาษใหผสมน้ํ า 1 : 1 (สมาน เฉตระการ. 2532 : 175 -179 )

11.4 ข้ันตอนในการลางฟลม

การลางฟลมแบงเปนหัวขอใหญ ๆ ได 3 ข้ันตอนดวยกัน คือ1. ข้ันเตรียมน้ํ ายาลางฟลม2. ขั้นรอยฟลมเขารีล3. ขั้นลงมือลางฟลม

11.4.1 ขั้นเตรียมนํ้ ายาลางฟลม

Page 10: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

111

ในการลางฟลมขาวดํ าน้ัน ใชนํ้ ายารวม 3 ชนิดดวยกัน ไดแก น้ํ ายาสรางภาพ น้ํ ายาหยุดภาพ (Stop Bath) น้ํ ายาคงสภาพ (Fixer) โดยกอนหนาน้ีไดกลาวถึงวิธีการผสมน้ํ ายาเก็บ เมื่อไดนํ้ ายาเก็บแลว ข้ันตอไปใหนํ าน้ํ ายาเก็บออกมา โดยเทใสกระบอกตวงในปริมาณท่ีจะใช ในสวนน้ํ ายาสรางภาพตองผสมกับนํ้ า 1 : 1 คนใหเขากัน สวนน้ํ ายาหยุดภาพและนํ้ ายาคงสภาพ ไมตองผสมอีก จากน้ันนํ าน้ํ ายาท้ัง 3 ตัวไปแชลงในถาดน้ํ าเย็น เพ่ือปรับอุณหภูมิตามตองการ ในท่ีน้ีจะใช 20 ํ C ใชเทอรโมมิเตอรวัดอุณหภูมิ อยาใหคลาดเคล่ือนได ถาอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง เวลาท่ีใชจะตองเปล่ียนไปดวย เราอาจจะใชนํ้ าแข็งชวยในการปรับอุณหภูมิ วางนํ้ ายาท้ัง 3 ชนิดวางเรียงกัน อยาใหสลับท่ีเปนอันขาด

11.4.2 ขั้นรอยฟลมเขารีลในขั้นตอนนี้ นักถายภาพจะตองฝกฝนจนเกิดความชํ านาญมากอนหนาน้ีแลว

เพราะการปฏิบัติในข้ันน้ี จะกระทํ าในหองท่ีมืดสนิท เพื่อปองกันไมใหแสงเขาไปทํ าปฏิกริยากับฟลมที่เรียกวา “ฟอก” (Fog) ข้ันตอนน้ีเร่ิมดวยการนํ าอุปกรณท่ีจะใชมาจัดวางไวตรงหนา เพื่อใหหยิบงายเม่ือปดไฟ ไดแกฟลมที่จะลาง กรรไกรที่แกะฟลม แท็งคและรีล เมือ่จัดวางอุปกรณครบแลวใหปดไฟ เร่ิมดวยการแกะฟลมออกจากกลักดวยท่ีแกะฟลม จากน้ันตัดหัวฟลมดวยกรรไกรเพื่อใหหนาแปลนของฟลมเสมอขอบฟลม รอยฟลมเขาในรีลโดยบีบขอบฟลมใหโคงเล็กนอย ดันปลายฟลมใหเขาไปยังชองที่หนีบฟลม ซ่ึงอยูแกนกลางของรีล โดยหันดานมันออกดานนอกรีลขอควรระวังก็คือจะตองจับที่ขอบฟลมเทานั้น มืออีกขางคอย ๆ จับรีลหมนุ จัดฟลมใหเขารองรีลหมุนรีลไปเร่ือย ๆ ระวังอยาใหฟลมปนรองของรีล เปนเหตุใหฟลมสัมผัสกัน น้ํ ายาลางฟลมจะแทรกเขาไปไมถึง ถาฟลมปนรองจะรูสึกมีความฝดมากกวาปกติ ใหดึงฟลมออกมาใหมเฉพาะชวงที่ปนรองรีล แลวดํ าเนินการใสเขารองรีลตอไป ตามปกติรีลท่ีใชกับฟลมขนาด 35 ม.ม.จะใสฟลม 36 ภาพไดเต็มพอดี

ในการใสฟลมเขารีลหากไมแนใจวา ฟลมเขารองรีลเรียบรอยดีหรือไมสามารถตรวจสอบได โดยการนํ ารีลเคาะกับอุงมือ ถาเสียงที่ไดยินเปนเสียงทึบ (ไมกอง) แสดงวามีบางสวนไมเขารองรีล แตถาหากเปนเสียงโปรง (กอง) แสดงวาฟลมเขารองรีลดีแลว จากน้ันตัดหางฟลมทิ้งไป

นํ ารีลที่บรรจุฟลมแลวใสลงในแท็งค ปดฝาแท็งคใหสนิท เปนอันเสร็จข้ันตอนท่ีสอง เปดไฟเพื่อที่จะทํ าข้ันตอไป

Page 11: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

112

11.4.3 ขั้นลงมือลางฟลมในขั้นตอนนี้ สามารถกระทํ าในที่ที่มีแสงสวางได โดยแบงเปนข้ันยอย ๆ ดังน้ี

3.1 เปดฝาชองกรอกน้ํ ายาท่ีอยูบนฝาแท็งคอีกที เทนํ้ าสะอาดลงไปจนทวมฟลม ปดฝาเล็กแลวเขยาแท็งคโดยการคว่ํ าแลวต้ังข้ึน น้ิวช้ีวางบนฝาเล็กเพ่ือปองกันฝาเปดกระแทกแท็งคกับอุงมืออีกหนึ่งครั้ง วางทิ้งไวประมาณ 1 นาทีเพื่อใหฟลมอิ่มตัว เทนํ้ าท้ิง

3.2 ต้ังนาฬิกาจับเวลา 9 นาที หรือตามที่ผูผลิตฟลมแนะนํ า3.3 เทน้ํ ายาสรางภาพลงไปในแท็งคทางฝาเล็กจนเต็ม เริ่มจับเวลา จับแท็งค

ควํ่ าแลวต้ังข้ึน กระแทกกนแท็งคกับอุงมือหน่ึงคร้ัง แลววางในถาดควบคุมอุณหภูมิ ทํ าเชนนี้ ทุกๆ 30 วินาทีจนครบเวลา รีบเทน้ํ ายาออกเก็บไวใชในคร้ังตอไป (ควรหมายเหตุจํ านวนคร้ัง ที่ใช )

3.4 เทน้ํ ายาหยุดภาพลงไปทันที เมื่อเต็มเริ่มจับเวลา 10 วินาที คว่ํ าแท็งคและกระแทกหน่ึงคร้ัง วางไวจนครบเวลาเทน้ํ ายาออกเก็บ

3.5 ขั้นตอไปเทนํ้ ายาคงสภาพลงไป จับเวลา 10 นาที เขยาแท็งคโดยการคว่ํ าและกระแทกเชนเคย จนไดเวลาเทนํ้ ายาออกเก็บ เม่ือจบข้ันน้ีสามารถเปดฝาแท็งคไดแลว เพื่อที่จะดูผลงานหากตองการ

3.6 นํ าฟลมไปลางนํ้ าโดยเปดฝาแท็งค (ฝาใหญ) ใหน้ํ าไหลผานฟลมตลอดเวลา เปนเวลาประมาณ 30 นาที

3.7 นํ าฟลมไปแชในนํ้ ายาโฟโตโฟล (Photo-Flo) ผสมนํ้ าในอัตราสวน 1 :200 น้ํ ายาโฟโตโฟลน้ี จะชวยใหฟลมสะอาด ปราศจากคราบหยดน้ํ าเกาะบนผิวฟลม

3.8 ใชฟองน้ํ าหรือคีมยางรูดฟลมเบา ๆ ตั้งแตหัวฟลมจนถึงหางเพื่อไลนํ้ าท่ีเกาะใหหมดไป ตอไปใชคลิบหนีบฟลมท้ังสองปลาย นํ าไปตากในตูตากฟลมหรือแขวนในท่ี ๆ ไมมีฝุนละอองเมื่อฟลมแหงดีแลว นํ าไปตัดใสซองฟลมเพื่อนํ าไปอัดขยายตอไป (Birnbaum. 1986: 13-17)

ตารางที่ 11.1 แสดงอายุของน้ํ ายาสรางภาพ เมื่อเก็บในลักษณะที่ตางกันซึ่งอาจมีผลตอภาพได หากนํ ามาใชในขณะที่นํ้ ายาเสื่อมสภาพแลว

Page 12: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

113

ตารางที่ 11.1 แสดงอายุและการเก็บน้ํ ายาสรางภาพ (บางสูตร)การเก็บแบบ

Stock Solutionการเก็บแบบ

Working Solutionจ ํานวนแผน/มวน ของวัสดุไว

แสง ขนาด/ แกลลอน135-36, 120-12, 8”x10”

สูตรน้ํ ายา เต็มขวด ไมเต็มขวด ถาด แกลลอน แทงค

ถาด แทงค

D - 11D - 23DK - 50*D - 72D - 76Microdol - x* Dektol

6 เดือน6 เดือน6 เดือน6 เดือน6 เดือน6 เดือน6 เดือน

1 เดือน2 เดือน2 เดือน2 เดือน2 เดือน2 เดือน2 เดือน

24 ชั่วโมง24 ชั่วโมง24 ชั่วโมง24 ชั่วโมง24 ชั่วโมง24 ชั่วโมง24 ชั่วโมง

1 เดือน1 เดือน1 เดือน2 เดือน1 เดือน1 เดือน1 เดือน

301620

30 (1 : 1)16

1630 ( 1 : 1)

401640

40 (1: 1)1616

40 (1 : 1)(ท่ีมา : สุมิตรา ขันตยาลงกต. 2534 : 60)

11.4.4 ขอควรระวังในการลางฟลม ไดแก การควบคุมอุณหภูมิ และเวลาที่ใชใหเที่ยงตรง มิฉะนั้นจะทํ าใหผลงานคลาดเคล่ือน ไมดีเทาท่ีควร

โกดักไดแนะนํ าน้ํ ายาสรางภาพสูตรตาง ๆ และผลของภาพที่ได เพื่อใหชางภาพไดเลือกใชตามความตองการ เชน ตองการสีตัดกันสูง กลางหรือต่ํ า ตองการเกรนของภาพ ปานกลางหยาบ หรือ ละเอียด หรือเหมาะที่จะใชลางฟลมเปนมวน เปนแผน เปนการเฉพาะ

11.5 กรรมวิธีการอดัขยายภาพขาวดํ า

หลังจากนํ าฟลมผานกระบวนการลางเรียบรอยแลว ก็จะไดฟลมตนฉบับที่พรอมนํ าไปอัดขยายเปนภาพถายตอไป ในกรณีท่ีนักถายภาพถายภาพไดดี และลางฟลมไดถูกตองสมบูรณขั้นการอัดขยายจะทํ าไดงายข้ึน แตหากในข้ันถายภาพทํ าไดไมดี หรือขั้นลางฟลมทํ าไดไมดีนักสามารถแกไขไดโดยวิธีการอัดขยายภาพ เชน ลางฟลมในเวลานอยเกินไป ปฏิกริยายังเกิดไมสมบูรณ สวนที่ควรจะเขมกลับไมเขมเต็มที่ โทนออกไปทางสีเทาหรือภาพจางไป ภาษาชางเรียกวา “ฟลมบาง” ในทางตรงกันขามหากลางฟลมนานเกินไป ฟลมจะเขมดํ าไปหมด เรียกวา“ฟลมหนา” เปนตน ซึ่งจะกลาวตอไปถึงวิธีแกไขฟลมเหลานี้ ในข้ันลงมืออัดขยายภาพ

11.5.1 อุปกรณสํ าหรับอัดขยายภาพ

Page 13: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

114

1. เคร่ืองอัดขยายภาพ2. กระดาษอัดภาพ3. นาฬิกาจับเวลา4. ถาดลางรูป 3 ใบ5. อีเซล6. ปากคีบ 2 อัน7. ชุดนํ้ ายาลางกระดาษ

11.5.2 การเลือกกระดาษอัดภาพในท่ีน้ีจะไมขอกลาวถึงการเลือกน้ํ ายาลางกระดาษ เพราะใชหลักเกณฑเดียวกับยา

ลางฟลม ซึ่งไดอธิบายไวแลวกระดาษอัดภาพทํ ามาจากกระดาษแข็งเน้ือดี ดานหน่ึงฉาบดวยสารเคมีไวแสง

สังเกตไดวาผิวจะมีความมันมากกวาอีกดาน กระดาษอัดภาพมีหลายชนิดและหลายขนาด ใหเลือกใชตามความตองการ เชน ขนาด ลักษณะของผิวหนา ความหนาบาง ระดับสีตัดกันเปนตน โดยแยกกระดาษตามหลักเกณฑตอไปน้ี

- แบงตามขนาด3” × 5” , 5” × 7”, 8” × 10”, 11” × 14” หรือใหญกวาน้ี

- แบงตามลักษณะของผิวหนาผิวมัน ผิวดาน ผิวหนาลวดลายตาง ๆ

- แบงตามความหนามี 3 แบบชนิดหนา ปานกลางและบาง

- แบงตามระดับสีตัดกันสีตัดกัน หมายถึง ความแตกตางระหวางสีดํ ากับสีขาว หรือสวนท่ีมืดกับสวนท่ีสวาง

น่ันเอง นักถายภาพควรเลือกกระดาษอัดภาพใหเหมาะสม โดยพิจารณาจากเนกาทิฟวา มีสีตัดกันมากนอยเพียงใด ถือหลักเกณฑวาฟลมท่ีสีตัดกันสูง ควรใชกระดาษอัดภาพท่ีสีตัดกันต่ํ า ในทางตรงขามฟลมท่ีสีตัดกันต่ํ า สามารถเพิ่มสีตัดกันใหสูงขึ้น โดยเลือกใชกระดาษอัดภาพท่ีมีสีตัดกันสูง แบงกระดาษอัดรูปออกเปนเบอรได 6 เบอร ดังน้ี

กระดาษเบอร 0, 1 สีตัดกันนอยมากและนอย (Soft)กระดาษเบอร 2 สีตัดกันปานกลาง (Normal)กระดาษเบอร 3, 4 สีตัดกันมาก (Hard)

Page 14: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

115

กระดาษเบอร 5 สีตัดกันมากท่ีสุด (Extra Hard)

11.6 ขั้นตอนการอัดขยายภาพขาวดํ า

เพื่อใหการปฏิบัติงาน มีขั้นตอนและชัดเจน จึงแบงยอยออกเปน 3 หัวขอ ดังน้ี1. ขั้นเตรียมอุปกรณและนํ้ ายาลางกระดาษ2. ข้ันอัดขยายภาพ3. ข้ันทํ าแหงและขัดมัน

11.6.1 ข้ันเตรียมอุปกรณและน้ํ ายาลางกระดาษนํ าอุปกรณท่ีจํ าเปนตองใชในการอัดขยายภาพออกมาวาง ตามตํ าแหนงที่จะหยิบ

ใชไดสะดวก โดยเรียงลํ าดับกอนหลัง เชน ในสวนท่ีแหง จะมีเคร่ืองอัดขยาย อีเซล กระดาษอัดภาพ นาฬิกาจับเวลา สวนอีกดานซ่ึงเปนสวนท่ีเปยก จะวางถาดน้ํ ายาลางกระดาษสามใบเรียงกันพรอมปากคีบ นํ าน้ํ ายาเก็บออกมาเทใสถาด โดยถาดใบแรกเปนน้ํ ายาสรางภาพ D - 72 (หรือสูตรอ่ืน ๆ ) อัตราสวนหน่ึงสวนตอน้ํ าสองสวน (1:2) ใหมีปริมาณเพียงพอที่จะใชงาน คนใหน้ํ าและน้ํ ายาเขากันดี ถาดใบท่ีสองเปนน้ํ ายาหยุดภาพ และใบที่สามเปนนํ้ ายาคงสภาพ นอกจากน้ียังตองมีอางน้ํ าลน (Running Water) เปนการเปดน้ํ าประปาใหไหลตลอดเวลา เพื่อชะลางสารเคมีบนผิวกระดาษอัดภาพใหหมดไป

11.6.2 ขั้นอัดขยายภาพ

2.1 นํ าเนกาทิฟใสเขาไปในที่ยึดจับฟลม (Negative Carrier) ซ่ึงอยูในเคร่ือง อัดขยายภาพ โดยหันดานมันเขา หาหลอดฉายและกลับหัว ภาพท่ี 11.5 (ก) แสดงภาพขณะใสฟลม เขาท่ียึดจับฟลม

2.2 สอดที่ยึดจับฟลมเขาชองของเครื่องอัดขยายจนสุด ซึ่งจะเขาล็อคพอดี เคร่ืองอัดขยายบางเคร่ืองตองงางหรือดึงคานยกข้ึน จึงจะสอดที่ยึดจับฟลมได

Page 15: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

116

2.3 จัดกรอบของอีเซลใหมีขนาดพอเหมาะกับกระดาษอัดภาพ โดยใหกรอบท้ังส่ีดานมีขนาดขอบเทา ๆ กัน วิธีการคือยกกรอบทับกระดาษข้ึน นํ ากระดาษอัดภาพสอดเขาไปในกรอบ ปดกรอบทับกระดาษลงมา ใชดินสอขีดเสนตามแนวกรอบดานในบนและซายมือ จากน้ันหมุนกระดาษไป 180 องศา (กลับดานท่ีไมไดขีดเสนกลับเขาไปในกรอบ) ปรับแขนของกรอบดานขวาและดานลาง ใหขอบดานในทางลงบนเสนท่ีขีดไวในตอนแรก เทาน้ีก็จะไดกรอบกระดาษท่ีพอดีและสวยงาม

2.4 ปดไฟในหองทั้งหมด ยกเวนเซฟไลท2.5 เปดรูรับแสงท่ีเลนสของเคร่ืองฉาย ใหกวางที่สุด เปดสวิทชไฟเคร่ืองอัดขยาย

แสงจะสองผานฟลมไปบนกรอบอีเซล ซึ่งมีความสวางมากที่สุดทํ าใหสะดวก ในการปรับโฟกัส ทํ าการปรับโฟกัสภาพบนอีเซล จนกวาจะไดภาพคมชัด ถาภาพที่ไดนั้น เล็กหรือใหญเกินไป ใหเล่ือนปุมใหเคร่ืองอัดขยาย สูงข้ึนหรือต่ํ าลง ถาเลื่อนใหสูงขึ้น จะไดภาพขนาดใหญขึ้น ถากระทํ าในทางตรงกัน ขามจะไดภาพเล็กลง เพื่อใหไดภาพที่มีขนาดภาพตามตองการ จากน้ันปดไฟเคร่ืองอัดขยาย

ภาพท่ี 11.5 (ข) แสดงการปรับขนาดรูปรับแสง

2.6 นํ ากระดาษอัดภาพออกจากซอง มักจะเก็บไวในลิ้นชัก สอดกระดาษอัดภาพเขาไปในกรอบอีเซล โดยหงายดานมันข้ึนเพ่ือรับแสง ระวังไมใหท่ีจับกระดาษเคล่ือนท่ีได เพราะจะทํ าใหแสงสองลงผิดตํ าแหนง เปดไฟเคร่ืองอัดขยายเพ่ือใหแสงฉายลงบนกระดาษประมาณ3-10 วินาที ปดไฟ

ภาพท่ี 11.5 (ค) แสดงการฉายแสงลงบนกระดาษอัดภาพ (ที่มา : สุภาณี กอสุวรรณศิริ. 2531 : 56-57)

Page 16: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

117

2.7 นํ ากระดาษท่ีฉายแสงแลวใสลงในถาดนํ้ ายาสรางภาพ (ถาดใบท่ี 1) ใชปากคีบ ๆ ขอบภาพ กดกระดาษใหน้ํ ายาสรางภาพสัมผัสผิวกระดาษจนทั่ว ภาพจะคอย ๆ ปรากฏข้ึนใชเวลาประมาณ 1 นาที ภาพก็จะขึ้นสมบูรณเต็มที่ ถาภาพขึ้นเร็วกวา 20 วินาที แสดงวาฉายแสงนานเกินไป หรือเปดรูฉายแสงกวางเกินไป แกไขโดยการหร่ีรูฉายแสงหรือลดเวลาการฉายแสง ในทางตรงขาม ถาภาพขึ้นสมบูรณชากวา 90 วินาที แสดงวาใหแสงนอยเกินไป ใหเพิ่มเวลาฉายแสงหรือเปดรูฉายแสงใหกวางข้ึน

2.8 รีบใชปากคีบ ๆ ภาพจากถาดท่ี 1 ไปใสลงในนํ้ ายาหยุดภาพ ซ่ึงเปนถาดท่ี 2ระวังอยาใหปากคีบของถาดท่ี 1 จุมลงในถาดใบท่ี 2 เพราะจะทํ าใหน้ํ ายาหยุดภาพ หยดใสถาดท่ี 1 อีกเมื่อนํ าปากคีบคืนท่ีเดิม และทํ าใหน้ํ ายาสรางภาพเสียหาย ใชปากคีบอันท่ี 2 คีบภาพกดใหน้ํ ายาทวมภาพ และเขยาใหภาพเคลื่อนไหว ภาพจะแชในถาดที่ 2 น้ี ประมาณ 10 วินาที

2.9 นํ าภาพขึ้นจากถาดท่ี 2 ใสลงในถาดน้ํ ายาคงสภาพ (ถาดใบท่ี 3) โดยใชปากคีบของถาดท่ี 2 แชใหน้ํ ายาทวมภาพเปนเวลา 10 นาที ปากคีบท่ีใชรวมกันของถาดท่ี 2 และ 3จะไมมีผลใหนํ้ ายาถาดท่ี 2 และ 3 เสียหาย มาถึงขั้นนี้ปฏิกริยาเคมีบนกระดาษ จะหยุดโดยสมบูรณ เราสามารถเปดไฟดูภาพที่ทํ าการอัดไดแลวถาตองการ

2.10 ข้ันตอไปนํ าภาพลงอางนํ้ าลน เพื่อชะลางนํ้ ายาเคมีท่ีเคลือบบนผิวกระดาษทํ าเชนเดียวกับวิธีการลางฟลม ใชเวลาประมาณ 30 นาที แลวนํ าไปทํ าแหงตอไปหมายเหตุ ในกรณีตองการใหภาพมีความชัดลึกมากขึ้น แกไขไดโดยการหร่ีรูฉายแสงใหเล็กลง

11.6.3 ข้ันทํ าแหงและขัดมันหลังจากผานการแชน้ํ า 30 นาทีแลว จึงนํ าภาพมาทํ าใหแหงและขัดมันโดยใช

เคร่ืองทํ าแหง (Heat Print Dryer) โดยเปดสวิทชมอเตอรใหหมุนแลวจึงเปดสวิทชความรอน(Heater) วางภาพบนสายพานผา ภาพจะเลื่อนเขาไปในเครื่อง เมื่อภาพเลื่อนออกมาก็จะแหงสนิทและเปนมันงาม

ในกรณีไมมีเครื่องทํ าแหง เราสามารถนํ าไปผึ่งลมในที่ไมมีฝุน รอจนกวาภาพจะแหงดี วิธีนี้ผิวของภาพจะไมมัน

11.7 โทนสเกล (Tone Scale)

โทนสเกลเปนการอัดขยายภาพ เพ่ือหาคํ าตอบวาจะใชเวลาฉายแสงนานเทาใด จึงจะไดภาพท่ีสวยงาม มีความขาวดํ าพอดี มีรายละเอียดของภาพบริเวณที่เปนเงาและที่สวางตามที่

Page 17: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

118

ตองการ วิธีการคือใหแสงถูกกระดาษขยายภาพ โดยใชเวลาท่ีแตกตางกันลดหล่ันกันไปทีละนอยซึ่งทํ าไดดังน้ี

1. ใสเนกาทิฟภาพท่ีตองการอัดเขาเคร่ืองอัดขยาย ปรับโฟกัสและปรับขนาดรูฉาย-แสงท่ี F 8 หรือ F 11

2. นํ ากระดาษอัดภาพเบอร 2 สอดเขาไปท่ีกรอบอีเซล จากน้ันใชกระดาษแข็งบังกระดาษอัดภาพ โดยใหเหล่ือมออกมาประมาณ 1 น้ิว เปดไฟเคร่ืองอัดขยาย ใหแสงสองบนกระดาษอัดภาพ นาน 3 วินาที จากน้ันเล่ือนกระดาษแข็งท่ีบังแสงออกไปอีก ทีละหนึ่งนิ้ว ฉายแสงอีก 3 วินาที ทํ าเชนน้ีจนสุดกระดาษอัดภาพ

ภาพท่ี 11.6 (ก - ข) แสดงภาพที่ทํ าโทนสเกลและภาพท่ีอัดขยายพอดี (ท่ีมา : อํ านวย อรรจนาทร)

3. นํ ากระดาษอัดภาพไปผานกระบวนการลางตามปกติ4. เมื่อภาพแหงดีแลว นํ ามาตรวจดูก็จะพบวา ระดับความเขมของสีจะคอย ๆ ลด

หลั่นเปนชอง ชองละหนึ่งนิ้วลดลงไปเรื่อย ๆ ชองท่ีเขมนอยท่ีสุดใชเวลาฉากแสง 3 วินาที และชองถัดไปจะเขมขึ้น ใชเวลาเพิ่มขึ้นทุก 3 วินาที เม่ือตรวจดูอยางละเอียดจะพบวา มีอยูชองหน่ึงท่ีภาพมีความเขมของแสงพอดี ตรวจดูวาใชเวลาฉายแสงนานเทาใด โดยการนับจํ านวนชอง เริ่มจากชองท่ีรับแสงนอย (ขวาท่ีสุด) แลวคูณดวย 3 วินาที ผลลัพธไดเทาไรใหนํ าชวงเวลานั้นมาเปนบันทัดฐานในการอัดขยายตอไป

11.7.1 ขอควรคํ านึงในการอัดขยายภาพนอกจากเปนนักถายภาพท่ีดี รูจักการใชกลอง การจัดองคประกอบภาพและใช

อุปกรณกลองเปนอยางดีแลว การลางฟลมตามกรรมวิธีท่ีถูกตอง จนไดเนกาทิฟที่ดีพรอมจะนํ า

Page 18: chapter11 การล้างฟิล์มและการอัดขยายภาพขาวดำ

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

119

มาอัดขยาย มีความจํ าเปนเชนกัน บางคร้ังจะตองตัดภาพบางสวนออก (Corpping) เพ่ือใหไดภาพที่มีองคประกอบสมบูรณ สวยสมใจ นอกจากน้ีควรท่ีจะทราบวา เวลาท่ีใชในการฉายแสงและอ่ืน ๆ ท่ีมีผลตอภาพท่ีได ข้ึนกับปจจัยตาง ๆ ตอไปน้ี

1. ความหนาบางของเนกาทิฟ ในการถายภาพน้ันบางก็ถายอันเดอร บางก็ถายโอเวอร ดังนั้นเนกาทิฟที่หนา ตองใชเวลาฉายแสงนานกวาเนกาทิฟท่ีบาง

2. ความใหมและความเขมขนของนํ้ ายาสรางภาพ จะทํ าใหปฏิกริยาเกิดเร็วข้ึน3. กํ าลังสองสวางของหลอดฉาย มีต้ังแต 60 - 250 วัตต วัตตสูงตองใชเวลา

ฉายแสงนอยกวา4. ชนิดของกระดาษอัดภาพดังไดกลาวแลววา กระดาษมีหลายเบอร ผิวและ

มีความหนาตางกัน หากตองการสีตัดกันนอย ใหใชเวลาที่ฉายแสงที่สั้นแตจะตองชดเชยแสงโดยเปดรูฉายแสงใหใหญ เปนตน

5. ภาพที่ตองการขยายมีขนาดใหญมาก จํ าเปนตองเล่ือนเคร่ืองอัดใหสูงข้ึนเพื่อฉายแสงไดกวางขึ้น ขณะเดียวกันความเขมของแสงออนลงดวย จึงตองเพิ่มเวลาในการฉายแสง ถาตองการอัดภาพเล็ก เปนไปในทางตรงกันขาม

6. เชนเดียวกับกลองถายภาพ รูฉายแสงของเคร่ืองอัดขยายท่ีเล็กจะทํ าใหภาพมีความชัดลึกมากกวารูฉายแสงที่ใหญ เมื่อใชขนาดรูฉายแสงที่เปลี่ยนไป เวลาฉายยอมตองเปลี่ยนตามดวย รูฉายท่ีเล็กแสงผานไดนอย จึงตองใชเวลาฉายแสงมากขึ้น ท่ีวงแหวนปรับขนาดรูฉายแสง มีตัวเลขกํ ากับเชนเดียวกับรูรับแสงของกลองถายภาพ เชน 3.5, 5.6, 8, 11 เปนตน

7. ชนิดของเลนส เลนสของเคร่ืองอัดขยายมีหลายความยาวโฟกัสใหเลือกใชสามารถเปล่ียนเลนสได เพื่อความเหมาะสมของงานแตละชิ้น

การลางฟลมและอัดขยายภาพ เปนงานท่ีสนุกและทาทายอยางหน่ึง ท่ีนักถายภาพไมควรมองขาม การอัดขยายภาพทํ าใหสามารถแกขอผิดพลาดจากการถาย หรือทํ าภาพพิเศษท่ีแปลกออกไป หรือจัดภาพ ตัดสวนไดตามใจปรารถนา