Top Banner
บันทึกจากหัวหน้าศูนย์ฯ จดหมายข่าวศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ITC Newsletter จดหมายข่าว ITC ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 ในช่วงภาคเรียนที่ 1/2552 ศูนย์- เทคโนโลยีสารสนเทศได้ปรับปรุงโครงสร้าง พื้นฐานระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย โดยติดตั้งอุปกรณ์กระจายสัญญาณหลัก อุปกรณ์กระจายสัญญาณและอุปกรณ์กระจาย สัญญาณไร้สายตามอาคารต่างๆ นอกจากนี้ ได้เพิ่ม/ปรับปรุงการเชื่อมโยงระบบเครือข่าย ใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) 3 เส้นทางคือ อาคารคณะเทคโนโลยีการเกษตร อาคาร 2 และอาคารหอสมุดกลาง ดังนั้นช่วงที่ผ่านมา สัญญาณอาจจะมีการขาดช่วงบ้าง เนื่องจากอยู่ระหว่างปรับแก้ระบบให้เข้ากับ ระบบใหม่ ระบบเครือข่ายไร้สายตามอาคาร ต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยฯมีจุดบริการWiFi เกือบทุกอาคาร (มีบางอาคารที ่ยังไม่เรียบร้อย) แต่ละอาคารอาจจะยังไม่ครอบคลุม เนื่องจากงบประมาณจำกัด ซึ่งศูนย์ฯมีแผน ดำเนินการติดตั้งเพิ่มขึ้นในปีงบประมาณ ต่อ ๆ ไป ในขณะเดียวกัน ศูนย์ฯ กำลัง ดำเนินการติดตั้งระบบยืนยันตัวตน (Authentication)พร้อมจัดเก็บข้อมูลการใช้งาน ในระบบเครือข่ายเพื่อให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 คาดว่าจะเริ่มใช้ระบบนี้ในภาค การศึกษาที่ 2/2552 นี้ ผลจากการปรับปรุงระบบ เครือข่ายในครั้งนี้ จะเห็นได้ว่าการใช้งาน ระบบเครือข่ายขณะนี้จะค่อนข้างรวดเร็วขึ้น และยังมีข่าวดีจาก สกอ.แจ้งว่าทาง Uninet จะดำเนินการขยายวงจรสื่อสัญญาณ เชื่อมโยงมายังมหาวิทยาลัยฯของเรา จากความเร็ว 10 Mbps เป็นขนาด 1 Gbps โดยทางสกอ.รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการ เช่าใช้บริการวงจรฯ และมหาวิทยาลัยฯ ต้องเป็นโหนดเชื่อมต่อให้ชุมชนท้องถิ่น ในภูมิภาคนี้ต่อไป ขณะนี้กำลังอยู่ระหว่าง ดำเนินการ ในปีงบประมาณ 2553 มหาวิทยาลัยฯ ได้รับงบประมาณสำหรับจัดซื้อซอฟต์แวร์ ป้องกันไวรัส จำนวน 1,000 Users สำหรับ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในมหาวิทยาลัยฯ ลิขสิทธิ์ 1 ปี ซึ่งศูนย์ฯจะดำเนินการจัดซื้อ และจะแจ้งให้ทราบอีกครั้งหนึ่งเมื่อดำเนินการ แล้วเสร็จพร้อมใช้งาน C O N T E N T S ข่าวและกิจกรรม ............................................. 2 สถิติการบริการ เดือนมกราคม - สิงหาคม 2552 ......... 3 สถิติการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ................ 4 กรอกเกรดออนไลน์...ไม่ใช่เรื่องยาก ................... 5 รวบรวมปัญหาระบบ MIS และ e-Document................6 แนะนำระบบฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพการศึกษา (ก.พ.ร.) ............................................................... 7 เตรียมตัวแบบไหนดี? ก่อนเข้าสู่ระบบ Authentication ในมหาวิทยาลัย...........................................................8 สรุปผลการใช้งานระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลาง เพื่อการสื่อสารในภาครัฐ .................................... 9 ข้อผิดพลาด 25 ข้อ ที่ควรหลีกเลี่ยงในการทำเว็บไซต์ ตอนที่ 2.............................................................. 10 ทันโลกไวรัสคอมฯ ......................................... 11
12

ฉบับที่ 4 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 , 2552)

Mar 15, 2016

Download

Documents

ข่าวและกิจกรรม, สถิติการบริการ เดือนมกราคม - สิงหาคม 25, สถิติการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์, กรอกเกรดออนไลน์...ไม่ใช่เรื่องยาก, รวบรวมปัญหาระบบ MIS และ e-Documen, แนะนำระบบฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพการศึกษา (ก.พ.ร.), เตรียมตัวแบบไหนดี? ก่อนเข้าสู่ระบบ Authentication ในมหาวิทยาลัย, สรุปผลการใช้งานระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางเพื่อการสื่อสารในภาครัฐ, ข้อผิดพลาด 25 ข้อ ที่ควรหลีกเลี
Welcome message from author
This document is posted to help you gain knowledge. Please leave a comment to let me know what you think about it! Share it to your friends and learn new things together.
Transcript
Page 1: ฉบับที่ 4 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 , 2552)

บ ั นท ึ กจ ากห ั วหน ้ าศ ู นย ์ ฯ

จดหมายข ่าวศ ูนย ์ เทคโนโลย ีสารสนเทศสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

ITC Newsletter

จดหมายข่าว ITC ปีที ่ 1 ฉบับที ่ 4

ในช่วงภาคเรียนที่1/2552ศูนย์-

เทคโนโลยีสารสนเทศได้ปรับปรุงโครงสร้าง

พื้นฐานระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย

โดยติดตั้งอุปกรณ์กระจายสัญญาณหลัก

อุปกรณ์กระจายสัญญาณและอุปกรณ์กระจาย

สัญญาณไร้สายตามอาคารต่างๆนอกจากนี ้

ได้เพิ่ม/ปรับปรุงการเชื่อมโยงระบบเครือข่าย

ใยแก้วนำแสง(FiberOptic)3เส้นทางคือ

อาคารคณะเทคโนโลยีการเกษตรอาคาร2

และอาคารหอสมุดกลางดังนั้นช่วงที่ผ่านมา

สั ญญาณอ า จ จ ะ มี ก า ร ข า ด ช่ ว ง บ้ า ง

เนื่องจากอยู่ระหว่างปรับแก้ระบบให้เข้ากับ

ระบบใหม่

ระบบเครือข่ายไร้สายตามอาคาร

ต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยฯมีจุดบริการWiFi

เกือบทุกอาคาร(มีบางอาคารท่ียังไม่เรียบร้อย)

แต่ ล ะอ าคา รอ าจจะยั ง ไ ม่ ค ร อบคลุ ม

เนื่องจากงบประมาณจำกัดซึ่งศูนย์ฯมีแผน

ดำเนินการติดตั้งเพิ่มขึ้นในปีงบประมาณ

ต่อๆ ไปในขณะเดียวกันศ ูนย์ฯกำลัง

ด ำ เ นิ น ก า ร ติ ด ตั้ ง ร ะ บบยื น ยั น ตั ว ต น

(Authentication)พร้อมจัดเก็บข้อมูลการใช้งาน

ในระบบเครือข่ายเพื่อให้เป็นไปตามพ.ร.บ.

ว่าด้วยการกระทำผิดเกี ่ยวกับคอมพิวเตอร์

พ.ศ.2550คาดว่าจะเริ ่มใช้ระบบนี้ในภาค

การศึกษาที่2/2552นี้

ผ ล จ า ก ก า ร ป รั บ ป รุ ง ร ะ บ บ

เครือข่ายในครั ้งนี ้จะเห็นได้ว่าการใช้งาน

ระบบเครือข่ายขณะนี้จะค่อนข้างรวดเร็วขึ้น

และยังมีข่าวดีจากสกอ.แจ้งว่าทางUninet

จะดำ เนินการขยายวงจรสื่ อสัญญาณ

เ ชื ่ อม โยงมายั งมหาวิทยาลั ยฯของ เ รา

จากความเร็ว10Mbpsเป็นขนาด1Gbps

โดยทางสกอ.ร ับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการ

เช ่าใช ้บร ิการวงจรฯ และมหาวิทยาลัยฯ

ต้องเป็นโหนดเชื่อมต่อให้ชุมชนท้องถิ่น

ในภูมิภาคนี้ต่อไป ขณะนี้กำลังอยู่ระหว่าง

ดำเนินการ

ในปีงบประมาณ2553มหาวิทยาลัยฯ

ได้รับงบประมาณสำหรับจัดซื้อซอฟต์แวร์

ป้องกันไวรัสจำนวน1,000Usersสำหรับ

เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในมหาวิทยาลัยฯ

ลิขสิทธิ ์1ปีซึ ่งศูนย์ฯจะดำเนินการจัดซื้อ

และจะแจ้งให้ทราบอีกครั้งหนึ่งเมื่อดำเนินการ

แล้วเสร็จพร้อมใช้งาน

C O N T E N T Sข่าวและกิจกรรม.............................................2

สถิติการบริการ เด ือนมกราคม - สิงหาคม 2552.........3

สถิติการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์................4

กรอกเกรดออนไลน์...ไม ่ใช ่ เร ื ่องยาก...................5

รวบรวมปัญหาระบบ MIS และ e-Document................6

แนะนำระบบฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพการศึกษา

(ก.พ.ร.)...............................................................7

เตรียมตัวแบบไหนดี? ก่อนเข้าสู ่ระบบ Authentication

ในมหาวิทยาลัย...........................................................8

สรุปผลการใช้งานระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลาง

เพื ่อการสื ่อสารในภาครัฐ....................................9

ข้อผิดพลาด 25 ข้อ ที ่ควรหลีกเลี ่ยงในการทำเว็บไซต์

ตอนที่ 2..............................................................10

ทันโลกไวรัสคอมฯ.........................................11

Page 2: ฉบับที่ 4 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 , 2552)

ข่าวและกิจกรรม

จดหมายข่าวศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ... 2

โครงการอบรมคอมพิวเตอร์สำหรับนักศึกษา ครั ้งที ่ 2/2552

1.หลักสูตรโปรแกรมนำเสนองานระหว่างวันที ่11–12ก.ค.52มีผู ้เข ้าอบรมทั ้งสิ ้น17คน

2.หลักสูตรโปรแกรมตกแต่งภาพระหว่างวันที ่25–26ก.ค.52มีผู ้เข ้าอบรมทั ้งสิ ้น35คน

3.หลักสูตรการพัฒนาเว็บไซต์ระหว่างวันที ่1–2ส.ค.52มีผู ้เข ้าอบรมทั ้งสิ ้น40คน

4.หลักสูตรการสร้างเว็บไซต์ด้วยJOOMLAระหว่างวันที ่8–9ส.ค.52มีผู ้เข ้าอบรมทั ้งสิ ้น15คน

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้าน ICT แก่ชุมชน

หลักสูตร“การใช้งานInternetในชีว ิตประจำวัน”ในวันที ่7สิงหาคม2552ณห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ชั ้น3

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศอาคารเฉลิมพระเกียรติฉลองสิร ิราชสมบัติครบ60ปี

ผู ้อบรมเป็นข้าราชการพนักงานของรัฐจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ ่นต่างๆในจังหวัดจันทบุร ีทั ้งหมด57คน

โดย...ร ุ ่งร ัตน์ เช ื ้อแก้ว

Page 3: ฉบับที่ 4 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 , 2552)

จดหมายข่าวศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ... 3

...พบกันอีกคร ั ้งก ับจดหมายข่าวฉบับที ่ 4

ฉบับนี้ ได้รวบรวมสถิติการบริการของศูนย์เทคโนโลยี

สารสนเทศโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

บริการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี ่ยวข้อง บริการระบบเครือข่ายรายการ จำนวนผู้รับบริการ(ครั้ง) จำนวนเครื่อง/อุปกรณ์ รายการ จำนวนผู้รับบริการ(ครั้ง)

ซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์/อุปกรณ์ 170 170 ติดตั้งระบบเครือข่ายให้หน่วยงาน 25

บริการให้คำปรึกษาแนะนำ 40 40 บริการแก้ไขปัญหาการใช้งานระบบเครือข่าย 80

ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 8 164 บริการให้คำปรึกษาแนะนำ 120

รวม 218 374 รวม 225

บริการระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร บริการด้านเว็บไซต์รายการ จำนวนผู้รับบริการ(ครั้ง) รายการ จำนวนผู้รับบริการ(ครั้ง)

ระบบบริการการศึกษา (REG) พัฒนาเว็บไซต์ให้หน่วยงาน 9

บริการแก้ไขปัญหาการใช้งานโปรแกรมให้หน่วยงาน 64 ปรับปรุงเว็บไซต์ให้หน่วยงาน 14

บริการให้คำปรึกษาแนะนำผู้ใช้ 88 เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์ลงในเว็บไซต์ 47

รวม 152 บริการให้คำปรึกษาแนะนำผู้ใช้ 8

ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) รวม 78

บริการแก้ไขปัญหาการใช้งานโปรแกรมให้หน่วยงาน 63

บริการให้คำปรึกษาแนะนำผู้ใช้ 237

รวม 300 บริการห้องปฏิบัติการสำหรับหน่วยงานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (e-Document) รายการ จำนวนผู้รับบริการ(ครั้ง)

บริการแก้ไขปัญหาการใช้งานโปรแกรมให้หน่วยงาน 23 บริการห้องปฏิบัติการสำหรับการฝึกอบรม 20

บริการให้คำปรึกษาแนะนำผู้ใช้ 74 รวม 20

รวม 97

สถิตินักศึกษาที่เข้าใช้บริการห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ นักศึกษาที่เข้าใช้บริการห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศตั้งแต่เดือนมิถุนายน-สิงหาคม2552มีรายละเอียดดังนี้

เดือนมิถุนายน 2552 เดือนกรกฎาคม 2552 เดือนสิงหาคม 2552คณะ จำนวน(คน) คณะ จำนวน(คน) คณะ จำนวน(คน)

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 251 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 179 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 212

คณะครุศาสตร์ 480 คณะครุศาสตร์ 495 คณะครุศาสตร์ 736

คณะเทคโนโลยีการเกษตร 923 คณะเทคโนโลยีการเกษตร 762 คณะเทคโนโลยีการเกษตร 695

คณะวิทยาการจัดการ 984 คณะวิทยาการจัดการ 1152 คณะวิทยาการจัดการ 1266

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 63 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 40 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 53

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมฯ 74 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมฯ 53 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมฯ 85

คณะนิติศาสตร์ 40 คณะนิติศาสตร์ 45 คณะนิติศาสตร์ 39

รวม 2,815 รวม 2,726 รวม 3,086

สถ ิต ิการบร ิการเด ือนมกราคม-ส ิงหาคม 2552

โดย. . .ปร ียาภรณ์ ศ ิร ิ ไสยาสน ์

Page 4: ฉบับที่ 4 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 , 2552)

สถิต ิการใช ้งานระบบสารบรรณอิเล ็กทรอนิกส ์ข ้อมูล ณ วันที ่ 28 สิงหาคม 2552

โดย. . .อาร ิษา ศร ี เจร ิญ

จดหมายข่าวศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ... 4

จากการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ที ่ผ่านมาสรุปเป็นข้อมูลการใช้งานในแต่ละหน่วยงานได้ดังนี ้

หน่วยงาน จำนวนผู้มีสิทธิ์ใช้งาน(คน) จำนวนผู้ใช้งานจริง(คน)

คณะครุศาสตร์ 38 32

คณะเทคโนโลยีการเกษตร 24 22

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและอัญมณีศาสตร์ 39 32

คณะนิติศาสตร์ 11 7

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 60 40

คณะวิทยาการจัดการ 69 59

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 82 78

สถาบันวิจัยและพัฒนา 5 5

สำนักงานอธิการบดี

กองกลาง 49 49

กองนโยบายและแผน 9 9

กองบริการการศึกษา 16 16

กองพัฒนานักศึกษา 11 9

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 33 33

สำนักศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาชุมชน 6 6

สนามกอล์ฟ 1 1

รวม 453 398

ถ้านำมาเปรียบเทียบข้อมูลด้วยแผนภูมิแล้ว เราจะเห็นข้อแตกต่างระหว่างผู้ที ่มีสิทธิ ์เข้าใช้ระบบและผู้ที ่ใช้งานจริงได้ชัดเจนยิ่งขึ ้น

แต่ผลก็ถือว่าน่าพอใจ เพราะมีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ยังไม่ได้ใช้งาน ซึ ่งทั ้งนี ้อาจมีทั ้งบุคลากรที่ไม่ทราบว่าตนเองมีสิทธิ ์ใช้งานและบุคลากร

ที่ลาศึกษาต่อรวมอยู่ด้วย

แผนภูมิแสดงจำนวนผู้มีสิทธิ์ใช้ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์และจำนวนผู้ที ่ใช้ระบบจริง

แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยก็ควรตรวจสอบสิทธิ์ของตนเองและเข้าไปเช็คเอกสารทุกวัน เพราะนี่เป็นช่องทางหนึ่งในการ

เผยแพร่ข่าวสารของทางมหาวิทยาลัยบุคลากรท่านใดที่ไม่แน่ใจว่าตนเองมีสิทธิ์เข้าใช้ระบบหรือไม่นั้นสามารถสอบถามได้ที่เบอร์ภายใน3514หรือ

จะมาติดต่อด้วยตนเองที่งานสารสนเทศศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศอาคารเฉลิมพระเกียรติฯชั้น4ห้อง35401ได้ตลอดเวลาทำการ

Page 5: ฉบับที่ 4 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 , 2552)

จดหมายข่าวศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ... 5

ก่อนอื่นเราจะต้องทราบก่อนว่าจำเป็นต้องมีอะไรบ้าง

เพื ่อที่จะกรอกเกรดออนไลน์ได้

1. ระบบเครือข่าย Internetจะเป็นที ่ไหนก็ได้ครับ

เช่นบ้านมหาวิทยาลัยร้านกาแฟฯลฯ

2.UsernameและPasswordสำหรับเข้าใช้ระบบ

กรอกเกรดออนไลน์ โดยระบุตัวตนว่าเป็นอาจารย์ท่านใด

สำหรับอาจารย์ท่านใดที ่ย ังไม่มี Username เข้าใช้ระบบ

สามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มขอUsernameได้ที ่ http://

doc.rbru.ac.th/docclient/download/USER_MIS.pdf

3. คู ่ม ือการกรอกเกรดออนไลน์ รวบรวมขั ้นตอน

ที ่สำคัญในการกรอกเกรด อาจารย์อ่านแล้วสามารถนำไป

ใช้ได้เลย สามารถดาวน์โหลดได้ที ่ http://reg.rbru.ac.th/

registrar/download/gradei.pdf

เมื่อพร้อมแล้วนะครับ ก็เข้าสู่หน้าเว็บไซต์กรอกเกรด

ออนไลน์ได้เลยครับคือhttp://reg.rbru.ac.thจากนั้นก็เริ ่ม

ทำตามคู่มือการกรอกเกรดได้เลยรับรองว่าไม่ยากอีกทั้งยัง

ช่วยให้เราคุ้นเคยกับการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน

อีกด้วยน่าสนใจทีเดียว

สำหรับอาจารย์ท่านใดที่มีข้อสงสัยในการใช้งาน

ระบบกรอกเกรดออนไลน์นั ้น สามารถสอบถามผู้ดูแลระบบ

ได้โดยตรงที่ โทรศัพท์ภายใน 3514 ครับ หรือแจ้งมายัง

อีเมล์[email protected]แล้วแต่ความสะดวกครับ

สวัสดีคร ับผู ้อ ่านทุกท่าน ใกล้จะสอบปลายภาค

แล้วนะครับ อาจารย์ก ็จะได้เวลากรอกเกรดกันอีกแล้ว

(สนุกอีกล่ะคร ับงานนี ้ ) ย ิ ่งการส่งเกรดตอนนี ้ม ีนโยบาย

จากอธิการบดี ว่าจะต้องส่งเกรดให้ทันภายใน 1 สัปดาห ์

หลังจากการสอบเสร็จสิ ้น อาจารย์แต่ละท่านก็ต้องรีบส่ง

ตามนโยบาย จดหมายข่าวฉบับนี ้ ผมจึงยกเอาเร ื ่อง

การกรอกเกรดในระบบบริการการศึกษามากล่าวถึงครับ

ซึ ่งการกรอกเกรดนี ้ อาจารย์ผ ู ้สอนต้องเป็นผู ้กรอกด้วย

ตนเองนะครับ

ใ น ส่ ว น ข อ ง ร ะบบก า ร ก ร อ ก เ ก ร ด อ อน ไ ลน์ นี ้

ได้เริ่มใช้กันจริงๆ จังๆ ในภาคเรียนที่1/2551เป็นต้นมาก็ได้รับ

ความสนใจจากอาจารย์หลายๆ ท่านรวมถึงเจ้าหน้าที่แต่ละ

คณะที่ได้มารับการอบรมจากทางศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

ก็นำเอาความรู ้นี ้ไปขยายผลให้กับอาจารย์ท่านอื ่นๆต่อไป

ปัญหาก็คือ อาจารย์บางท่านก็มาไหว้วานให้เจ้าหน้าที่ ่เป็นผู ้

กรอกให้ เนื ่องจากสาเหตุบางประการที่อาจารย์ไม่สามารถ

กรอกเกรดเองได้ซึ ่งพอจะสรุปได้ดังนี ้ครับ

อาจารย์บางท่านไม่ถนัดการใช้คอมพิวเตอร์

อาจารย์บางท่านไม่เข้าใจการใช้งานระบบinternet

อาจารย์บางท่านไม่เข้าใจกลไกของระบบกรอกเกรดออนไลน์

อาจารย์บางท่านไม่มีเวลา

ปัญหาดั งกล่าวนำมาซึ่ งความไม่ปลอดภัยของ

ข้อมูลครับอาทิเช่นบุคคลอื่นรู ้UsernameกับPassword

ของอาจารย์แล้วนำไปใช้ในทางมิชอบ ข้อนี ้สำคัญมาก

เพราะระบบจะมีการเก็บLogว่าใครLoginมาทำอะไรในระบบ

ซึ ่งถ้าตรวจพบว่าUsernameใดLoginเข้ามากระทำการ

มิชอบถือว่าUsernameนั้นมีความผิดนะครับแต่อย่าเพิ่ง

ตกใจไปครับ ปัญหาเหล่านี้จะหมดไป ถ้าอาจารย์แต่ล่ะท่าน

กรอกเกรดด้วยตนเองครับ ถ้าใครเคยใช้ระบบกรอกเกรด

ออนไลน์แล้วจะรู ้ว่าไม่ยากอย่างที่คิดครับ

โดย...เอกลักษณ์ สุขทั ้งโลก

กรอกเกรดออนไลน์... ...ไม่ใช่เรื ่องยาก

Page 6: ฉบับที่ 4 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 , 2552)

จดหมายข่าวศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ... 6

เนื ่องจากบริษัทวิชั ่นเน็ตจะมีการเข้าบำรุงรักษาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารของมหาวิทยาลัยฯเราในวันที่21-25

กันยายน2552จึงได้มีบันทึกข้อความที่ว.226ลงวันที่8กันยายน2552แจ้งไปยังแต่ละหน่วยงานเพื่อขอความร่วมมือตรวจสอบ

ปัญหาการใช้งานระบบสารสนเทศเพื ่อการบริหาร และมีบันทึกข้อความตอบกลับมาพร้อมกับปัญหาจากการใช้งานของผู ้ใช้

บางปัญหาก็เป็นเรื่องที่เคยพูดคุยกันแล้วบางปัญหาก็เกิดจากความไม่สะดวกในการใช้งานและบางปัญหาก็เกิดจากความเข้าใจผิด

ซึ่งได้รวบรวมปัญหาการใช้งานระบบMISและe-Documentมาให้ได้ทราบกันดังนี้

1.การใช้ระบบการเงินเพื่อทำรายการเบิกค่าใช้จ่ายไปราชการ เมื่อมีการแก้ไขทางผู้ใช้จะคัดลอกข้อมูลเก่าไปแต่ข้อมูล

รายละเอียดหลังประชุม/สัมมนา/อบรมไม่สามารถคัดลอกไปได้ทำให้เสียเวลาในการกรอกข้อมูลดังกล่าวซ้ำอีก

ชี้แจง:ปัญหาข้อนี้ทางผู้ดูแลระบบได้แจ้งไปยังบริษัทวิชั่นเน็ตให้แล้วอยู่ระหว่างรอการตอบกลับจากบริษัท

2.การแก้ไขรายการเบิกเงินต่างๆ ไม่สามารถแก้ไขได้แต่ต้องยกเลิกเรื่องเดิมแล้วทำใหม่ต้องการให้เปิดช่องทางแก้ไขได ้

แทนที่จะไปทำใหม่ทั้งหมด

ชี้แจง : หากต้องการให้มีการเปิดช่องทางแก้ไขดังกล่าว ควรมีการประชุมตกลงกัน เนื่องจากการที่เราไม่สามารถกลับไปแก้ไข

เรื ่องที่บันทึกแล้วในระบบได้นั ้นก็เป็นมติมาจากที่ประชุมเมื่อตอนเริ ่มใช้ระบบใหม่ๆ ตกลงว่าไม่ให้แก้ไขเพราะมีผลต่อยอดเงิน

ในระบบและเป็นการป้องกันการกระทำมิชอบ อีกประการหนึ่งคือช่วยป้องกันตัวผู้ใช้เองจากปัญหาการทุจริตด้วย สมมติว่า

ให้มีการกลับไปแก้ไขเรื ่องเดิมได้ วันหนึ ่งอาจมีผู ้อื ่นเข้าไปแก้ไขรายการของเรา แล้วพิมพ์เอกสารนั ้นไปกระทำการมิชอบ

จริงอยู่...ที่ระบบจะแสดง Username ของผู้ที ่ทำรายการคนสุดท้าย แต่ถ้าเราไม่ทันได้ตรวจสอบ แล้วเราก็เข้าไปเปลี่ยนข้อมูล

ในส่วนที่เราต้องการแก้ไข ผู้ทำรายการคนสุดท้ายก็จะกลายเป็น Username ของเรา ซึ่งหากเกิดเป็นคดีความเกี่ยวกับเอกสาร

ที่พิมพ์ไปจากระบบก่อนหน้าที่เราจะทำการแก้ไข ผู ้ที ่รับผิดชอบก็คือเรา เพราะชื่อผู ้ทำรายการคนสุดท้ายแสดงอยู่ว่าเป็นเรา

อย่างนี้เป็นต้น

3.ควรมีกล่องประชาสัมพันธ์สำหรับทุกคณะเพื่อที่จะเก็บหนังสือประชาสัมพันธ์ทั่วไปของแต่ละคณะซึ่งไม่เกี่ยวกับกล่อง

สาธารณะของมหาวิทยาลัย

ชี้แจง : เรื ่องนี้เคยชี้แจงไปแล้วในจดหมายข่าวฉบับที่ 2 และเคยปรึกษากับทางโปรแกรมเมอร์ผู้ที ่พัฒนาระบบนี้แล้ว สรุปได้ว่า

ด้วยโครงสร้างของระบบและข้อจำกัดในการพัฒนาบางประการ ไม่ได้รองรับการพัฒนาตรงส่วนนี้ เนื่องจากระบบถูกออกแบบมา

ให้มีการเผยแพร่รับ-ส่งเอกสารเอกสารที่ถูกส่งเข้ามาในหน่วยงานก็เป็นหน้าที่ของหน่วยงานนั้นๆที่จะต้องส่งต่อไปยังบุคลากร

ภายในหน่วยงานเพื่อแจ้งให้ทราบทั่วกันแนะนำว่าให้ตกลงกันภายในหน่วยงานว่าบุคลากรท่านใดที่ไม่ต้องการรับเอกสารที่ไม ่

เกี่ยวข้องกับตนหน่วยงานก็ไม่ต้องส่งต่อให้

4.การใช้งานระบบe-Documentจากภายนอกมหาวิทยาลัยหน้าจอไม่เหมือนกับที่ใช้อยู่ในมหาวิทยาลัยฯและบางไฟล ์

ไม่สามารถเปิดอ่านได้

ชี ้แจง : เร ื ่องนี ้ก ็ เคยชี ้แจงกับผู ้ใช ้ไปแล้ว ระบบ e-Document ท ี ่ เราใช ้ภายในมหาวิทยาลัยฯนั ้น ถ ูกพัฒนาขึ ้นด้วย

โปรแกรมคนละตัวกัน เพื่อรองรับการใช้งานที่แตกต่างกัน (ภายในเป็นbackofficeภายนอกเป็นwebapplication)หน้าจอจึง

ไม่สามารถทำให้เหมือนกันทุกประการได้ อย่างมากก็มีบางส่วนที่คล้ายกัน แต่ความสามารถในการใช้งาน ทำได้เหมือนกัน

ส่วนเรื่องไฟล์บางประเภทที่เปิดไม่ได้ แนะนำให้ผู้ใช้เช็คนามสกุลของไฟล์นั้นก่อน ว่าในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา มีโปรแกรม

สำหรับเปิดไฟล์ประเภทนั ้นหรือไม่หรือถ้าเกิดการขัดข้องไม่สามารถเปิดไฟล์จากระบบได้อาจใช้วิธีบันทึกลงในเครื ่องก่อน

แล้วจึงเปิดอ่าน

ปัญหาที่หน่วยงานแจ้งมาเป็นลายลักษณ์อักษรก็มีเพียงเท่านี้ปัญหาใดที่ต้องแจ้งกับบริษัทวิชั่นเน็ตทางผู้ดูแลระบบจะติดต่อ

ประสานงานกับทางบริษัทต่อไปนอกจากนี้ยังมีการแจ้งมาทางโทรศัพท์บ้างในบางส่วน

ผู้ใช้ท่านใดที่ต้องการปรึกษาปัญหาจากการใช้งานสามารถโทรมาสอบถามได้ที่เบอร์โทรศัพท์ภายใน3514งานสารสนเทศ

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศอาคารเฉลิมพระเกียรติฯชั้น4ห้อง35401

โดย...อาริษา ศรีเจริญ

รวบรวมปัญหาระบบ MIS และ e-Documentข ้อม ูล ณ ว ันที ่ 15 ก ันยายน 2552

Page 7: ฉบับที่ 4 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 , 2552)

รวบรวมปัญหาระบบ MIS และ e-Documentข ้อม ูล ณ ว ันที ่ 15 ก ันยายน 2552

จดหมายข่าวศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ... 7

สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน บทความนี้เป็นบทความแรกที่ผมเขียนลงในจดหมายข่าว หากบทความของผมขาดตกบกพร่อง

แต่ประการใดก็ขออภัยไว้ณที ่น ี ้ด ้วยครับในครั ้งนี ้ผมจะขอแนะนำระบบงานใหม่ซึ ่งพัฒนาขึ ้นโดยศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

สำนักวิทยาบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณีซึ ่งเป็นระบบที่น่าสนใจครับ

ระบบงานใหม่น ี ้ ค ือ ระบบฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพการศึกษา (ก.พ.ร.) มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี

นั ่นเองครับซึ ่งเป็นระบบงานที ่พัฒนาโดยฝ่ายทีมงานสารสนเทศโดยมีอาจารย์คัมภีร ์ธ ีระเวชเป็นที ่ปรึกษาและให้คำแนะนำ

เกี ่ยวกับระบบงาน การพัฒนาระบบงานดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื ่อจัดเก็บหลักฐานสำหรับงานประกันคุณภาพการศึกษาของทาง

มหาวิทยาลัยซ่ึงขณะน้ีได้พัฒนาเสร็จเรียบร้อยแล้วและหน่วยงานประกันคุณภาพคาดว่าจะเร่ิมใช้ในการเก็บหลักฐานในปีงบประมาณ2553นี ้

ท่านผู้อ่านสามารถดูตัวอย่างระบบงานได้จากเว็บไซต์http://www.rbru.ac.th/qaครับ

ก่อนจากกันผมมีภาพตัวอย่างของระบบงานนี้มาให้ชมกันด้วยครับแล้วพบกันใหม่ในจดหมายข่าวฉบับหน้าครับสวัสดีครับ

ภาพที่ 1แสดงหน้าจอการเข้าสู ่ระบบฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพการศึกษา

ภาพที่ 2ตัวอย่างหน้าจอหลังจากเข้าสู ่ระบบงาน

โดย. . .ณรงค ์ศ ักด ิ ์ ว ะ โร

แนะนำระบบฐานข้อมูลด ้านการประกันค ุณภาพการศึกษา (ก.พ.ร.)

Page 8: ฉบับที่ 4 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 , 2552)

จดหมายข่าวศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ... 8

ฉบับนี้มาเตรียมตัวให้พร้อมกับระบบตรวจสอบผู้ใช้งานระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยกันครับ เหตุที ่จำเป็นต้องมีระบบ

ดังกล่าวขึ ้นมาก็เป็นผลมาจากพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์2550(ที ่ประกาศใช้ไปเมื ่อวันที ่18ก.ค.50)ที ่จะมีผลต่อผู ้ใช้งานinternet

ทั้งหลาย ทำให้มีความจำเป็นที่มหาวิทยาลัยจะต้องจัดทำระบบตรวจสอบผู้ใช้งานเพื่อให้ทราบว่าผู้ใช้งานนั้นเป็นใคร และมีผลให ้

ผู้ดูแลระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยต้องสร้างกฎเกณฑ์ในการคุมการเข้าใช้งานinternetมากขึ้นสรุปอย่างกว้างๆให้เข้าใจพอสังเขป

เพื ่อที่ผู ้ใช้งานจะได้ปรับตัวและมีความสุขกับการใช้internetกันต่อไปดังนี้

สำหรับเครื ่องคอมพิวเตอร์ตามสำนักงานต่างๆ ในมหาวิทยาลัยรวมไปถึงการเข้าใช้งานในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร ์

ของแต่ละคณะที่ให้บริการก็จะเปลี่ยนรูปแบบให้มีการใส่usernameและpasswordของผู้ใช้เพื ่อบันทึกข้อมูลไว้ว่าผู ้ใช้ดังกล่าว

คือใครและมาใช้เมื ่อวันที่เวลาใดเพื่อเป็นหลักฐานตามประกาศในพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์2550สำหรับการเข้าใช้งานAccessPoint

Wirelessที่ใช้กันอย่างง่ายๆต่อไปคงต้องเปลี่ยนเป็นให้ระบุusernameและpasswordเช่นกันโดยต้องนำคอมพิวเตอร์ส่วนตัว

(Notebook)หมายเลขประจำเครื ่อง(Macaddress)และข้อมูลเกี ่ยวกับผู้ใช้คือบัตรประจำตัวประชาชนที่อยู ่เบอร์โทรและe-mail

ที่สามารถติดต่อได้มาลงทะเบียนกับศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศก่อนจึงจะสามารถใช้งานได้

กล่าวโดยสรุปคือต่อไปไม่ว่าเราจะไปใช้งานตรงจุดใดในมหาวิทยาลัยก็จะต้องมีusernameและpasswordเพื่อให้ผู ้ดูแล

ระบบเครือข่าย สามารถเก็บบันทึกการเข้าใช้งานของเราได้นั่นเอง ดังนั้นความสะดวกที่เราเคยได้รับอาจลดน้อยลงไป แต่จะช่วยให้เกิด

internet สีขาวในมหาวิทยาลัยของเราได้ครับ

สำหรับผู ้ใช้คอมพิวเตอร์และinternetไม่ควรทำในสิ ่งต่อไปนี ้เพราะอาจจะเป็นหนทางที ่ทำให้ท่าน“กระทำความผิด”

ตามพ.ร.บ.นี้ได้นะครับ

1.อย่าบอกpasswordของท่านแก่ผู ้อื ่น

2.อย่าให้ผู ้อื ่นยืมใช้เครื ่องคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื ่อเล่นinternet

3.อย่าติดตั้งระบบเครือข่ายไร้สายในบ้านหรือที่ทำงานโดยไม่ใช้มาตรการการตรวจสอบผู้ใช้งานและการเข้ารหัสลับ

4.อย่าเข้าสู ่ระบบด้วยusernameและpasswordที่ไม่ใช่ของท่านเอง

5.อย่านำusernameและpasswordของผู้อื ่นไปใช้งานหรือเผยแพร่

6.อย่าส่งต่อซึ ่งภาพหรือข้อความหรือภาพเคลื่อนไหวที่ผิดกฎหมาย

7.อย่ากด“rememberme”หรือ“rememberpassword”ที่เครื ่องคอมพิวเตอร์สาธารณะและอย่าloginเพื่อทำธุรกรรม

ทางการเงินที่เครื ่องสาธารณะถ้าท่านไม่เชี ่ยวชาญทางcomputersecurity

8.อย่าใช้WiFi(WirelessLAN)ที่เปิดให้ใช้ฟรีโดยปราศจากการเข้ารหัสลับข้อมูล

9.อย่าทำผิดพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์2550ตามมาตรา14ถึง16เสียเองไม่ว่าโดยบังเอิญหรือโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์

โดย. . .ปร ิญญา ภารด ีร ุจ ิร า

Page 9: ฉบับที่ 4 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 , 2552)

สร ุปผลการใช ้งานระบบจดหมายอิเล ็กทรอนิกส ์กลางเพ ื ่อการส ื ่อสารในภาคร ัฐ

จดหมายข่าวศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ... 9

โดย. . .อ ังคณา ว ุฒ ิ

จากการที่ได้รณรงค์ให้ทุกๆหน่วยงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณีหันมาใช้ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลาง

เพื ่อการสื ่อสารในภาครัฐ เพื ่อความปลอดภัยของข้อมูลทางราชการที ่จะถูกส่งไปกับอีเมล์สาธารณะ ผลการเข้าใช้ระบบ

จากผู ้ใช ้ท ี ่แจ ้งความประสงค์ขอ Username จำนวน 137 ท่าน ม ีผ ู ้ท ี ่ เข ้าใช ้งานจริงเพียง 22 ท่าน คิดเป็น 16%

ของจำนวนผู ้ใช้ทั ้งหมดต่อมาได้มีการรณรงค์การใช้งานอีกครั ้งผ่านทางจดหมายข่าวศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศฉบับที ่3

ผลการเข้าใช้เพิ ่มขึ ้นจากเดิม5ท่านเป็น27ท่านคิดเป็น19%ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดิมเพียง3%ถือว่ายังไม่บรรลุผลเท่าที่ควร

สาเหตุที ่ทำให้การเข้าใช้งานไม่บรรลุผลอาจมาจากบุคคลที ่ขอใช้ระบบไม่ทราบว่าตนเองมีชื ่อและมีสิทธิ ์ในการเข้าใช้

จึงไม่ได้เปิดเข้าไปใช้งาน

จากจำนวนผู้ขอใช้ระบบและจำนวนผู้ที ่ เข้าใช้ระบบจดหมายอิ เล็กทรอนิกส์กลางเพื่อการสื่อสารในภาครัฐ

แยกเป็นหน่วยงานสามารถสรุปเปรียบเทียบกันได้ดังแผนภูมิต่อไปนี้

แผนภูมิสรุปจำนวนผู้ขอใช้ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางและผู้ที ่เข้าใช้ระบบจริง

ผู ้ใช้ท่านใดต้องการใช้งานระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางฯสามารถเข้าใช้ได้ที ่URLhttp://rbru.mail.go.th

หากต้องการตรวจสอบสิทธิ์การเข้าใช้งานหรือมีความประสงค์จะขอUsername เพื่อเข้าใช้ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางฯ

สามารถติดต่อได้ที ่งานสารสนเทศศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศอาคารเฉลิมพระเกียรติฯชั ้น4ห้อง35401เบอร์โทรศัพท ์

ภายใน3514

Page 10: ฉบับที่ 4 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 , 2552)

จดหมายข่าวศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ... 10

จากฉบับที่แล้วเราได้พูดถึงข้อที่ควรหลีกเลี่ยงในการทำ

เว ็บไซต์ไปแล้ว15ข ้อ ฉบับนี ้ เรามาดูอ ีก10ข ้อที ่ เหลือกัน

ว่ามีอะไรบ้างต่อด้วยข้อ16เลยค่ะ

16. ไม่เคยอัพเดทเว็บไซต์เลย

การอัพเดทเว็บไซต์เป็นประจำก็ทำให้ผู้ใช้งานเกิดความ

มั ่นใจว ่าเว ็บไซต์ของเรายังมีผ ู ้ด ูแลอยู ่ และเนื ้อหายังได้ร ับ

การปรับปรุงอยู่นอกจากนี้ยังส่งผลต่ออันดับในsearchengine

อีกด้วย

17. จำนวนคลิกเพื่อเข้าถึงข้อมูลมากเกินไป

หลายๆเว็บไซต์จะเก็บเนื ้อหาในส่วนที ่ค ิดว่าดีเอาไว้

โดยผู้ใช้งานจะต้องผ่านการคลิกนับครั ้งไม่ถ้วน ผ่านโฆษณา

มากมายกว่าจะมาถึงเนื ้อหาที่สนใจได้นับว่าเป็นสิ่งที ่ผิดพลาด

อย่างมาก อย่างที ่บอกไปว่าเว็บของเราห่างจากเว็บอื ่นเพียง

คลิกเดียว ถ้าเราทำให้เกิดความลำบากยากเย็นในการเข้าถึง

เนื ้อหาหรือส่วนที่ผู ้ใช้งานสนใจก็ทำให้ผู ้ใช้งานท้อหรือล้มเลิก

ความตั้งใจที่จะใช้งานต่อไปได้ จำนวนคลิกที่มากที่สุดที่คุณ

ควรทำคือไม่เกิน3คลิกที ่จะทำให้ผู ้ใช้งานเข้าถึงส่วนที่สนใจ

18. สร้างความมั่นใจในส่วนของความปลอดภัยแก่ผู ้ใช้

ถ้าเว็บไซต์ของคุณเป็นเว็บไซต์ขายของหรือทำธุรกิจต่างๆ

ก็ควรสร้างความมั่นใจให้ลูกค้าว่าพวกเขาจะไม่ โดนหลอก

เช่น การจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ ไม่เปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ

ของลูกค้าหรือขายข้อมูลให้กับบริษัทอื่น

19. ไม่มีที ่อยู่ หรือที่ติดต่อกลับ

เว็บไซต์ทางธุรกิจจำเป็นอย่างยิ่งที ่จะต้องมีส่วนของ

ติดต่อเรา , contact information , ที ่อยู ่บริษัท , เบอร์โทรศัพท์ ,

email สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งจำเป็นทั้งสิ ้นที่จะต้องมีในเว็บไซต์

20. การใช้ Free web hosting

ถ้าคุณเป็นเว็บเกี ่ยวกับธุรกิจแล้ว จำเป็นอย่างยิ่งที ่คุณ

จะต้องมีชื ่อ domain name เป็นของตัวเอง และจะต้องมี web

hosting เป็นของตัวเองไม่ว่าจะเช่า หรือจะซื้อมาเอง เพราะจะ

ส่งผลต่อความเชื่อมั่นของลูกค้าของคุณเป็นอย่างยิ่ง

21. การใช้ Free E-mail addresses

ในปัจจุบันมีfreeemailมากมายเช่นhotmail,gmail

แต่เป ็นสิ ่งท ี ่ควรหลีกเล ี ่ยง ควรใช้ email ท ี ่ เป ็นของคุณเอง

มาจาก domain name ของคุณ เรื ่องนี้เป็นสิ่งที ่จำเป็นอย่างยิ่ง

กับความน่าเชื ่อถือของemailของคุณที่ส่งไปยังลูกค้า

22. โฆษณาที่มีมากจนเกินไป

โฆษณาเป็นรายได้หลักของเว็บไซต์บางประเภทแต่การท่ีเรา

ใส่โฆษณามากเกินไปจะส่งผลต่อเนื้อหาของเว็บไซต์ของคุณ

เพราะจะทำให้ผู ้ใช้สับสนระหว่างเนื้อหาที่แท้จริง กับโฆษณา

ที่แทรกอยู่

23. รูปภาพ

รูปภาพก็เป็นส่วนสำคัญของเว็บไซต์เราจึงควรดูแล

ส่วนนี้ให้ดี ไม่ควรให้เกิดการผิดพลาดในการแสดงรูปภาพ และ

ควรบีบอัดไฟล์รูปให้ถูกต้องกับรูปแบบ

24. เว็บไซต์นี้แสดงผลได้ดีที ่สุดในขนาด 1024 x 768

การกำหนดขนาดที่ใช้ในการแสดงผลหรือbrowserที ่ใช ้

แสดงผลเป็นสิ ่งที ่ไม่ควรทำเป็นอย่างยิ ่ง เพราะปัจจุบันเราม ี

หน้าจอหลายรูปแบบหลายขนาดมากมายตั้งแต่14นิ้วจนถึง20นิ้ว

ขึ้นไปก็มี ทั ้งแบบ wide screen และแบบทั่วไป การกำหนด

ขนาดแสดงผลจึงไม่ควรทำเราควรทำให้เว็บไซต์ของเราแสดงผล

ได้ถ ูกต้องทุกๆ แบบของหน้าจอทุกๆ ขนาดในปัจจุบ ันไม่ใช ่

เร ื ่องยากเพราะเรามีCSSเข ้ามาช่วยในเร ื ่องนี ้ได ้มากทีเด ียว

โดยเฉพาะเรื ่องของCSSlayout

25. ไม่ใส่ราคา

การไม่ใส่ราคาในเว็บไซต์ขายของ หรือแนะนำสินค้า

อาจเป็นกลยุทธ์ของผู ้ขายแต่สิ ่งนี ้ใช้ไม่ได้ในโลกของinternet

อย่างแน่นอนเพราะถ้าเว็บไซต์ของคุณไม่บอกราคาแต่มีเว็บไซต ์

อื่นที่สามารถบอกราคาได้ลูกค้าที่กำลังจะเป็นของคุณก็อาจจะ

เป็นของคนอื ่นแทนดังนั ้นเราจึงควรใส่รายละเอียดต่างๆของ

สินค้าให้ครบถ้วนถูกต้องตามข้อมูลที่เรามีทั ้งหมด

ที ่กล่าวมาคือสิ ่งที ่ไม่ควรมีในเว็บไซต์ของเรา ซึ ่งยังม ี

รายละเอียดอีกมากเกี ่ยวกับเรื ่องนี ้อย่างเช่นไม่ควรใช้popup

ไม่ควรขีดเส้นใต้ตัวอักษรที่ไม่ใช่ลิงค์ ซึ ่งจะมานำเสนอในโอกาส

ต่อไป

รู ้อย่างนี้แล้ว ก็อย่าได้นำข้อผิดพลาดเหล่านี้ไปใช้กับ

เว็บไซต์ของเราเชียวนะคะ

ข้อผิดพลาด 25 ข้อ

ที่ควรหลีกเลี่ยงในการทำเว็บไซต์ ตอนที่2 โดย...ล ัดดา เช ิดชมกลิ ่น

Page 11: ฉบับที่ 4 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 , 2552)

จดหมายข่าวศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ... 11

ผ่านมา 2 ฉบับแล้วนะครับบทความเกี่ยวกับ ไวรัสคอมพิวเตอร์ แต่ก็ยังมีหลายคนถามถึงปัญหาในการเปิด Browser

สำหรับใช้งาน internet ซึ ่งบางคนสงสัยว่าToolBarต่างๆที่มาติดตั้งนั ้น อยู่ ๆก็มาเองและไม่เคยไปทำอะไรเลยมาถึงฉบับนี ้

ก็อยากจะไขข้อข้องใจและจะนำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับสปายแวร์ซึ่งหลายคนอาจจะยังไม่ทราบว่าหมายถึงอะไร และก็คงไม่ปฏิเสธว่า

ไม่ได้ใช้ระบบ internet ในการทำงานอยู่ เพราะปัจจุบัน สปายแวร์ จะแอบแฝงมากับการใช้งานเครือข่าย internet ซึ ่งโปรแกรม

พวกสปายแวร์ ที ่แอบเข้ามาติดตั้งในเครื ่องคอมพิวเตอร์ทาง internet จะทำให้เครื ่องคอมพิวเตอร์ทำงานช้า หรือรบกวนความเป็น

ส่วนตัวของเราครับ

รู้จักสปายแวร์จอมป่วน

สปายแวร์ คือ ซอฟต์แวร์ขนาดเล็กที่แอบเข้ามาคอยสอดส่องพฤติกรรมการใช้งานเว็บไซต ์

ของผู้ใช้เพื่อนำไปเป็นข้อมูลในการโฆษณาไม่ว่าจะเป็นในรูปของสแปมเมล์(เมล์ขยะ)ที่มาโฆษณา

สินค้า โดยที่เราไม่เคยเข้าเว็บไซต์เหล่านั้นมาก่อนเลยหรือโฆษณา popup ที่ก่อความรำคาญ

ให้กับผู้ใช้

สปายแวร์นั้นมีหลายประเภทล้วนแต่เป็นซอฟต์แวร์ที่ถูกติดตั้งขณะเปิดเว็บไซต์หรือเปิดอีเมล์

หรืออาจแฝงมากับซอฟต์แวร์ฟรีที่ผู้ใช้ดาวน์โหลดและนำมาติดตั้งลงบนเครื่องครับ

รู้ได้ไงว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ติดสปายแวร์

เมื่อสปายแวร์ได้ย่างกรายเข้ามาอยู่ในเครื่องของเราจะมีอาการที่แสดงออกและบ่งบอกซึ่งมีหลากหลายอาการดังต่อไปนี้

เมื่อเปิดBrowserปรากฏว่ามีหน้าเว็บไซต์อะไรก็ไม่รู้ขึ้นมาเป็นหน้าเว็บไซต์แรกและเข้าไปปรับแก้ไขแล้วก็กลับมาใหม่อีกทุกครั้ง

เมื่อเปิดเว็บไซต์

มีpopupโฆษณาขึ้นมาอยู่ตลอดในขณะที่เปิดเว็บค้างไว้โดยที่ไม่ได้มีการคลิกหรือทำอะไรกับหน้าเว็บไซต์เลย

มีแถบเครื่องมือแปลกๆเพิ่มขึ้นมาอยู่บนหน้าต่างBrowser

มีไอคอนโฆษณาปรากฏขึ้นมาบนเดสก์ท็อปแม้ลบไปแล้วก็ยังกลับมาแสดงตลอด

รายชื่อเว็บไซต์ในFavoritesเพ่ิมขึ้นมาจากไหนไม่ทราบทั้งๆที่ไม่เคยเข้าเว็บไซต์นั้นๆมาก่อน

ไฟฮาร์ดดิสก์มีการทำงานอยู่ตลอดทั้งๆที่ไม่ได้ทำงานใดๆกับเครื่อง

หน้าเว็บไซต์ใดที่เปิดเข้าไม่ได้จะแสดงเป็นหน้าเว็บที่สปายแวร์เซตไว้ให้เป็นหน้าเว็บไซต์เริ่มต้น

บริเวณ task tray ในส่วนแสดงการเปิดโปรแกรมที่กำลังรันอยู่ด้านล่างของหน้าต่างวินโดว์ จะปรากฏแถบแสดงเครื่องมือหรือ

ไอคอนที่ไม่เคยเห็นมาก่อนหรือไอคอนแปลกๆ

ฟังก์ชั่นบนคีย์บอร์ดบางอย่างที่เคยใช้งานจะเกิดอาการผิดปกติ เช่น เคยกดปุ่ม tab เพื่อเลื่อนไปยังช่องกรอกข้อความถัดไป

บนหน้าเว็บไซต์จะไม่สามารถใช้ในการเลื่อนตำแหน่งได้เหมือนเดิมเป็นต้น

เครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณจะทำงานช้าลงอย่างเห็นได้ชัดเมื่อสั่งเปิดโปรแกรมหลายโปรแกรมหรือทำงานหลายอย่างโดยเฉพาะ

ในระหว่างการบันทึกแฟ้มข้อมูลเป็นต้น

หลายคนคงร้อง อ๋อ... เพราะเคยเจออาการแบบนี ้มา และถึงขนาดกับรำคาญจนต้องลง Windows ใหม่ ไปเลยก็มี

เพราะไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้

แนวทางการป้องกัน สปายแวร์

เว็บไซต์หลาย ๆ ตัวจะแฝงตัวติดตั้งสปายแวร์มาด้วย โดยขึ้นเป็น popup ให้เราต้องคลิก ให้เราหลีกเลี ่ยงการคลิก

popupเหล่านี้ครับโดยให้ทำการปิดไปจะดีกว่าครับ

ไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมที่ไม่แน่ใจหรือไม่เคยได้ยินชื่อมาก่อนโดยเฉพาะโปรแกรมที่แจกจ่ายอยู่บนเว็บไซต์ที่ไม่น่าไว้ใจครับ

เว็บไซต์ประเภทแจกโปรแกรมเถื่อน ไฟล์หนังเถื ่อนหรือเว็บไซต์ลามกอานาจารมักเป็นแหล่งของสปายแวร์เป็นอย่างดี

น่าจะหลีกเลี ่ยงการเข้าเว็บไซต์ไม่เหมาะสมเหล่านั้นครับ

ติดตั้งโปรแกรมประเภทสแกนสปายแวร์และอัพเดทโปรแกรมอยู่เสมอเพื่อป้องกันสปายแวร์ชนิดใหม่ๆครับ

. . .ท ันโลกไวร ัสคอมฯ...โดย...ศรายุทธ์ จ ิตรพัฒนากุล

จดหมายข่าวศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ... 10

Page 12: ฉบับที่ 4 (ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 , 2552)

จดหมายข่าวศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ... 12

ตอนนี้เราก็พอจะรู ้จักกับสปายแวร์กันแล้วและเมื่อเครื ่องของเราติดสปายแวร์แล้ว วิธีการแก้ไขวิธีหนึ่งคือ เราสามารถ

ดาวน์โหลดโปรแกรมที่ใช้ในการกำจัดสปายแวร์ ซึ ่งมีทั ้งที ่เป็นฟรีดาวน์โหลดและมีลิขสิทธิ ์ โปรแกรมหนึ่งซึ ่งเป็นที่นิยมคือ

Ad-Awareเนื่องจากความสะดวกในการใช้งานผมจึงได้นำมาเป็นแนวทางในการกำจัดสปายแวร์เบื้องต้นสำหรับผู้ใช้งานinternetทั่วไป

คุณก็เป็นคนหนึ ่งเช่นกัน ที ่มีความเสี ่ยงต่อการติดสปายแวร์โดยไม่ได้เจตนา ดังนั ้นลองติดตั ้งโปรแกรม Ad-Aware เพื ่อค้นหา

และกำจัดสปายแวร์ในเครื ่องคอมพิวเตอร์ของเราโดยมีวิธีง่ายๆคือ

เข ้าไปดาวน์โหลดโปรแกรม Ad-Aware ได้ท ี ่ http://www.lavasoftusa.com/support/download/ ทำการติดตั้ง

โปรแกรมและอัพเดทโปรแกรมเพื่อให้รู ้จักสปายแวร์ตัวใหม่ๆหลังจากนั้นก็ทำการสแกนหาสปายแวร์ได้เลยครับ

หวังเป็นอย่างยิ ่งว ่า ...ทันโลกไวรัสคอมฯ... ที ่ผมนำมาเสนอจะมีประโยชน์ก ับทุกคนนะครับ โดยเฉพาะอย่างยิ ่ง

การเข้าใช้งานinternetควรจะใช้ในทางที่เป็นประโยชน์หากใช้เพื ่อจุดประสงค์อื ่นอาจจะทำให้เกิดโทษหรือติดไวรัสและสปายแวร์

มาก็ได้ครับที่สำคัญเจ้าของเครื ่องที่ใช้งานอยู่นั ้นน่าจะทราบดีว่าจะป้องกันปัญหาอย่างไรและดูแลรักษาอย่างไร

...แล้วพบกันในฉบับต่อไปครับ

************************************************************

. . .ท ันโลกไวร ัสคอมฯ...(ต ่อ)

ที่ปรึกษา รศ.แน่งน้อยดวงดาราผศ.บุษยาประทุมยศและอ.ปฏิคมทองจริงบรรณาธิการ อ.คัมภีร์ธีระเวชกองบรรณาธิการอ.ณัฐกาญจน์พึ่งเกิดอ.สาธิตไทยสงฆ์นางสาวรุ่งรัตน์เชื้อแก้วนางสาวลัดดาเชิดชมกลิ่นนายปริญญาภารดีรุจิรานางปรียาภรณ์ศิริไสยาสน์ นายเอกลักษณ์สุขทั้งโลกนางสาวอาริษาศรีเจริญนางสาวอังคณาวุฒินายศรายุทธ์จิตรพัฒนากุลและนายณรงค์ศักดิ์วะโร

. . . แ น ะ น ำ บ ุ ค ล า ก ร ใ ห ม ่ . . .นายณรงค์ศักดิ์ วะโร

วุฒิการศึกษา วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

หน้าที่รับผิดชอบ พัฒนาระบบ

คติประจำใจ ทำในสิ่งที่อยากจะทำ แต่...ทำในสิ่งที่ดี